Page 8 - InsuranceJournal129
P. 8
เรื่องเด่น
ี
ในอนาคต โลกจะก้าวสู่ยุคท่เรียกว่า “Internet of
ิ
Things” คือสภาพแวดล้อมอันประกอบด้วยสรรพส่งท ี ่
ื
ั
สามารถส่อสารและเช่อมต่อกันได้ผ่านการส่อสารท้งแบบ
ื
ื
ั
ใช้สายและไร้สาย ดังน้น การรักษาความปลอดภัยทาง
�
ื
ี
ข้อมูลจึงเป็นมาตรการป้องกันท่สาคัญเพ่อความปลอดภย ั 5
ในช่วงค�่าเป็นการจัดงานเลี้ยงสังสรรค์ “TGIA 48 Anniversary Celebration Party” เนื่องในโอกาสครบรอบ 48 ปี การก่อตั้ง
th
สมาคมประกันวินาศภยไทย โดยสมาคมประกันวนาศภัยไทยได้รับเกียรติจาก นายสุทธิพล ทวีชัยการ เลขาธิการคณะกรรมการกากบและส่งเสริม
ิ
ั
ั
�
การประกอบธุรกิจประกันภัย กล่าวปาฐกถาพิเศษ เรื่อง “ทิศทางธุรกิจประกันวินาศภัยไทยยุคดิจิทัล” โดยมีใจความส�าคัญว่า นโยบายดิจิทัล
เพื่อเศรษฐกิจและสังคม ถือเป็นนโยบายที่รัฐบาลให้ความส�าคัญ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อต้องการผลักดันการน�าเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์
ใช้ให้เกิดประโยชน์กับประเทศในหลาย ๆ ด้าน ซึ่งจะช่วยขับเคลื่อนประเทศให้พัฒนาไปอย่างรวดเร็วและเกิดประโยชน์แก่ทุกภาคส่วน
เศรษฐกิจดิจิทัลจะช่วยท�าให้ประเทศไทยสามารถเพิ่มประสิทธิภาพและสร้างความสามารถในการแข่งขันได้ การเข้าถึงเศรษฐกิจดิจิทัล
มีได้หลากหลายช่องทาง ไม่ว่าจะเป็นการใช้คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลเชื่อมต่อเข้ากับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต หรือการใช้ Smart Device เช่น สมาร์ท
โฟน และแท็บเล็ต ติดต่อสื่อสารกันผ่านเครือข่ายไร้สายความเร็วสูง ท�าให้เกิดโอกาสทางธุรกิจใหม่ ๆ มากมาย ตั้งแต่การบริการในภาคการเงิน
การบริโภค จนถึงการบริการรถแท็กซี่ ดังตัวอย่างของ Amazon, Alibaba และ Uber Taxi เป็นต้น มีการประมาณการว่าปัจจุบันประเทศไทยมี
Smart Device สูงกว่า 30 ล้านเครื่อง และจากผลการประมูลใบอนุญาตคลื่น 1800 MHz หรือ 4G ที่เพิ่งจะเสร็จไป รวมทั้งการประมูลคลื่นย่าน
900 MHz ที่ก�าลังจะเกิดในเร็ว ๆ นี้ คาดว่าการใช้ Smart Device จะเพิ่มขึ้นเป็น 65 ล้านเครื่องหรือประมาณ 2 เท่าในอีก 4 ปีข้างหน้าหรืออาจ
จะกว่านั้น ซึ่งตัวเลขการใช้ Smart Device เป็นตัวชี้วัดที่ดีตัวหนึ่งที่แสดงให้เห็นว่าผู้บริโภคชาวไทยสามารถเข้าถึงและมีความพร้อมในการก้าว
เข้าสู่เศรษฐกิจดิจิทัลได้โดยไม่ยาก
ในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมาทั่วโลกมีการพูดถึง Digitalization กันมากขึ้น การเข้าสู่ยุคดิจิทัลนั้นไม่เพียงเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการด�าเนิน
ี
�
ั
ชีวิตของประชาชนท่วไป แต่ยังเป็นการเปล่ยนแปลงพฤติกรรมและรูปแบบการดาเนินธุรกิจอีกด้วย เพราะผู้บริโภคในปัจจุบันต้องการการตอบสนอง
�
�
ี
อย่างทันทีทันใด ทาให้รูปแบบบริการการติดต่อส่อสารกับลูกค้า การจัดการช่องทางการจาหน่าย มีการเปล่ยนแปลงอย่างมากจากในอดีต
ื
ึ
อาจกล่าวได้ว่า การก้าวเข้าสู่ยุคดิจิทัลของธุรกิจประกันภัย หมายความว่า เราจะมีปฏิสัมพันธ์และสามารถเข้าถึงข้อมูลของผู้บริโภคได้มากข้น
ท�าให้รู้จักและเข้าใจพฤติกรรมในการบริโภคได้ดีขึ้น ซึ่งจะก่อให้เกิดโอกาสทางธุรกิจมากมาย อาทิ การพัฒนาช่องทางการจ�าหน่าย เช่น การขาย
�
ื
ประกันภัยผ่านอินเทอร์เน็ตและ Application การพัฒนาช่องทางติดต่อส่อสารกับผู้บริโภค เช่น ส่อโซเชียลมีเดียต่าง ๆ ทาให้สามารถเข้าถึงลูกค้า
ื
�
และกระตุ้นให้เกิดการซ้อกรมธรรม์ประกันภัยได้ง่ายข้น นอกจากน้ ยังทาให้สามารถพัฒนาการให้การบริการชดใช้ค่าสินไหมทดแทนท่รวดเร็ว
ี
ื
ึ
ี
ตอบสนองการบริการของลูกค้าได้ดียิ่งขึ้น
อย่างไรก็ตาม ผลการส�ารวจบริษัทประกันภัยทั่วโลกจากหลายส�านักพบว่าธุรกิจประกันภัยยังมีพัฒนาการด้าน Digitalization ที่น้อย
กว่าธุรกิจการเงินอื่น ๆ กล่าวคือ
้
่
่
1. ธุรกิจประกันภัยยังอยูในระยะเริ่มตนของ Digital Maturity การด�าเนินงานและระบบงานในปจจุบันยังไมรองรับ Digital Economy
ั
ท�าให้เกิดโอกาสเสี่ยงที่ธุรกิจประกันภัยจะสูญเสียกลุ่มลูกค้าปัจจุบัน และจ�ากัดโอกาสที่จะเข้าถึงลูกค้ากลุ่มใหม่
ั
ี
2. แม้บริษัทจะมีความมุ่งม่นในการก้าวเข้าสู่การเป็นผู้นาในโลกดิจิทัล แต่ก็พบว่าการลงทุนในเร่องดังกล่าวยังไม่ได้พัฒนาเท่าท่ควร
ื
�
เนื่องจากมีบริษัทเพียง 10% เท่านั้นที่สามารถเปลี่ยนแปลงการท�างานให้เป็นดิจิทัลได้อย่างแท้จริง
3. วัฒนธรรมการด�าเนินธุรกิจประกันภัยของไทย ณ ขณะนี้ ยังเป็นแบบแอนะล็อกมากกว่าดิจิทัล
5 เอกสารการบรรยาย “Cyber Risk Management” โดยนายปริญญา หอมอเนก ประธานผู้ก่อตั้ง, ACIS Professional Center Co., Ltd (ACIS)
8 วารสารประกันภัย ฉบับที่ 129