Page 9 - InsuranceJournal129
P. 9
เรื่องเด่น
ิ
ี
ื
�
ถึงเวลาหรือยังท่จะต้องเพ่มความสาคัญในการวิเคราะห์พฤติกรรมและความต้องการของลูกค้า เพ่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้เหมาะสมกับ
แต่ละคน แต่ละกลุ่มเป้าหมาย ในยุค Globalization และ Digitalization กับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และการเปิดเสรีด้านการ
ี
ั
ประกันภัยตามพันธกรณีของข้อตกลงท่วไปว่าด้วยการค้าบริการ ก็คงจะถึงเวลาแล้วท่ธุรกิจประกันวินาศภัยของไทยจะต้องเพ่มศักยภาพในการ
ิ
แข่งขันด้วยการใช้ช่องทางดิจิทัล ทั้งทางคอมพิวเตอร์ โทรศัพท์มือถือ และสังคมออนไลน์ ขยายเครือข่ายทางธุรกิจเพื่อตอบสนองพฤติกรรมการ
ใช้บริการของลูกค้า
ี
ั
�
่
ึ
ิ
ุ
ี
ิ
ี
ั
ั
ิ
นอกเหนือจากผลสารวจทวโลกท่แสดงให้เห็นถงพฒนาการท่ล่าช้าของธุรกจประกนภัยในการเข้าสู่อตสาหกรรมยุคดจทัลแล้ว มีอก
ประเด็นหน่งท่ธุรกิจประกันภัยจะต้องเตรียมตัวให้พร้อมในการตอบสนองต่อความต้องการของภาคอุตสาหกรรมอื่นท่มีพัฒนาการในเร่องดิจิทัล
ึ
ี
ื
ี
นั่นคือ Cyber Insurance ซึ่งเป็นผลมาจากความเสี่ยงและภัยคุกคามในโลกดิจิทัล ทั้งจากการโจรกรรมข้อมูลส่วนบุคคลของลูกค้า การก่อกวน
ระบบข้อมูลของบริษัท การท�าให้ระบบไม่สามารถให้บริการได้ เป็นต้น ซึ่งเมื่ออุตสาหกรรมประกันภัยก้าวเข้าสู่ยุคดิจิทัลก็ต้องเผชิญความเสี่ยงนี้
ด้วยเช่นกัน
ั
ั
ั
ดังน้น การเข้าสู่ยุคดิจิทัลจึงเป็นท้งโอกาสและความท้าทายของอุตสาหกรรมประกันภัยไทยรวมท้งการประกันวินาศภัย ซ่งการท่จะทาให้
ี
�
ึ
ั
ี
ื
ั
ั
�
ธรกจประกันภัยเป็นธรกิจในยคดจิทลได้อย่างเต็มรูปแบบน้นจะอาศัยเพยงภาครฐหรือสานกงาน คปภ. ในการกาหนดนโยบายและขับเคล่อน
�
ั
ิ
ิ
ุ
ุ
ุ
เพียงฝ่ายเดียวคงจะไม่ได้ แต่จ�าเป็นต้องอาศัยความร่วมมือจากภาคเอกชน โดยส�านักงาน คปภ. จะขับเคลื่อน 4 บทบาทไปพร้อม ๆ กัน ดังนี้
บทบาทแรก คือ การเป็น “Infrastructure Builder” โดยการเร่งสร้างโครงสร้างพื้นฐานใน 2 ส่วน ส่วนแรก คือ การปรับปรุงและ
พัฒนากฎหมาย เพื่อเป็นการลดข้อจ�ากัดต่าง ๆ เพื่อให้กฎหมายก้าวทันเทคโนโลยี และส่วนที่ 2 คือ การพัฒนาฐานข้อมูลประกันภัย ซึ่งหมายถึง
ิ
ี
ื
“Insurance Bureau System” ให้เป็นศูนย์กลางข้อมูลของอุตสาหกรรมประกันภัยท่ครอบคลุมทุกด้าน โดยเฉพาะอย่างย่งเพ่อการพัฒนา
ผลิตภัณฑ์ประกันภัย
บทบาทที่ 2 การเป็น “Facilitator” ให้กับภาคธุรกิจ โดยการพัฒนาและลดขั้นตอน กระบวนการอนุมัติ อนุญาต ผลิตภัณฑ์และอัตรา
เบี้ยประกันภัย และด�าเนินการให้เกิดการใช้ Electronic Policy (กรมธรรม์ประกันภัยในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์)
บทบาทที่ 3 การเป็น“Leader” ในการส่งเสริมความรู้ให้กับประชาชน โดยสิ่งแรกที่ได้สั่งการไปแล้วและอยู่ระหว่างการด�าเนินการ คือ
การปรับปรุง Website ของส�านักงาน คปภ. ให้มีข้อมูล และสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการประกันภัยที่เหมาะสมส�าหรับประชาชนทุกกลุ่ม ใน
แต่ละช่วงชีวิต เช่น วัยสร้างครอบครัว วัยเกษียณ เป็นต้น รวมทั้งประสานความร่วมมือกับหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลและพัฒนาสื่อ
รูปแบบดิจิทัลต่าง ๆ
�
ี
ี
ั
บทบาทท่ 4 คือการเป็น “Supervisor” แต่เน้นบทบาทท้งสองด้าน คือ การกากับและการดูแลส่งเสริมให้บริษัทมีระบบงานท่ด ี
มีระบบเทคโนโลยีที่ปลอดภัย สามารถรักษาความปลอดภัยของข้อมูลลูกค้า และให้บริการทั้งก่อนและหลังการขายด้วยความเป็นธรรม โปร่งใส
และเปิดเผยข้อมูลอย่างเหมาะสม
ในส่วนของภาคเอกชน ทางสานักงาน คปภ. มีความประสงค์เห็นให้บริษัทประกันภัย มีการสร้าง “Focus”, “Efficiency”, “Agility”
�
และ “Trust” กล่าวคือ
“Focus” ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ และการให้บริการที่รวดเร็ว เหมาะสมตรงตามความต้องการเฉพาะของลูกค้าแต่ละคน แต่ละกลุ่ม
รวมถึงผู้สูงอายุและผู้บริโภคที่มีรายได้น้อย ผู้ด้อยโอกาสและผู้พิการ เป็นต้น ด้วยราคาและความคุ้มครองที่เป็นธรรม การบริการที่รวดเร็ว รวม
ถึงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ส�าหรับภาคธุรกิจอื่น โดยเฉพาะในเรื่อง Cyber Insurance
“Efficiency” อยากเห็นการลงทุนในระบบเทคโนโลยีท่ทันสมัยและปลอดภัยสาหรับลูกค้า เพ่อยกระดับประสิทธิภาพการดาเนินธุรกิจ
�
ื
�
ี
เพื่อให้มีต้นทุนที่ต�่าลงในระยะยาว และมีการบริหารความเสี่ยงที่ดี
“Agility” ในเรื่องของกลยุทธ์ ที่พร้อมที่จะรุกเมื่อมีโอกาสใหม่ ๆ เข้ามา โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อมีการเปิดตลาดในภูมิภาคอาเซียน ซึ่ง
ปัจจัยที่ส�าคัญ คือ ทรัพยากรบุคคลที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญ และมีทัศนคติที่เปิดกว้าง
ประการสุดท้าย อยากให้มีการสร้าง “Trust” เพราะในที่สุดแล้ว แม้ว่าธุรกิจประกันภัยจะก้าวสู่โลกดิจิทัลมากเพียงไร แต่สิ่งที่ผู้บริโภค
ต้องการมากที่สุด คือ การให้บริการที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของจรรยาบรรณทางวิชาชีพ และธรรมาภิบาลที่ดี
“ในอดีตคนมักจะพูดว่าเราจ�าเป็นที่จะต้องก้าวเพื่อให้เป็นผู้น�าทางธุรกิจ แต่ในโลกยุคดิจิทัล เราจ�าเป็นต้องก้าวเพื่อไม่ให้ถอยหลัง
ด้วยการท�างานร่วมกันอย่างใกล้ชิด เราจะสามารถพัฒนาอุตสาหกรรมของเราให้ก้าวหน้าในยุคดิจิทัลได้อย่างยั่งยืน”
วารสารประกันภัย เดือนตุลาคม-ธันวาคม 2558 9