Page 15 - InsuranceJournal134
P. 15
Risk Intelligence
การประเมินภาคประกันภัย
สาหรับการประเมินของภาคประกันภัยโดยเฉพาะน้น จะยึดตามหลักการสาคัญประกันภัย 26 ข้อท่เรียกว่า Insurance Core Principles
�
ี
ั
�
(ICPs) ซึ่งธนาคารโลกและกองทุนการเงินระหว่างประเทศได้ก�าหนดขึ้นมาในปี 2543 และได้มีการทบทวนต่อเนื่องเป็นระยะโดยเฉพาะภายหลัง
การเกิดวิกฤตแฮมเบอร์เกอร์ในปี 2551 ซึ่งมีจุดเริ่มต้นมาจากบริษัทประกันภัยในสหรัฐอเมริกา
ICPs เป็นหลักการส�าคัญของการประกันภัย 26 ข้อ ที่ผู้ก�ากับดูแลธุรกิจประกันภัยในประเทศต่าง ๆ รวมถึงส�านักงาน คปภ. ได้ยึดถือ
เป็นแนวทางในการด�าเนินงานและการก�ากับดูแลธุรกิจประกันภัย ในการน�า ICPs ไปใช้นั้น ผู้ก�ากับดูแลในแต่ละประเทศจะต้องพิจารณาปัจจัย
แวดล้อมในประเทศของตนและปรับรูปแบบการก�ากับดูแลและการบังคับใช้กฎหมายให้เหมาะสมกับลักษณะ ขนาด และความซับซ้อนของธุรกิจ
ประกันภัยในประเทศของตน ธนาคารโลกได้จัดหมวดหมู่ของ ICPs ออกเป็น 7 กลุ่ม ดังนี้
กลุ่มที่ 1 เป็นหลักการที่เกี่ยวข้องกับวัตถุประสงค์ของการก�ากับดูแลและผู้ก�ากับดูแล ประกอบด้วย ICP 1 – วัตถุประสงค์ อ�านาจ และ
หน้าที่ความรับผิดชอบของผู้ก�ากับดูแล ICP 2 – ผู้ก�ากับดูแล และ ICP 3 – การแลกเปลี่ยนข้อมูลและข้อก�าหนดด้านการเก็บรักษาความลับ
กลุ่มที่ 2 เป็นหลักการที่เกี่ยวข้องกับการให้ใบอนุญาตประกอบธุรกิจ ความเหมาะสมของบุคลากร และการควบคุม ซึ่งประกอบด้วย
ICP 4 – การให้ใบอนุญาตประกอบธุรกิจ ICP 5 – ความเหมาะสมของบุคลากร และ ICP 6 – การเปลี่ยนแปลงอ�านาจการบริหารและการถ่าย
โอนธุรกิจ
ั
ี
ี
่
่
ุ
่
็
ี
่
ึ
ิ
ั
้
ุ
้
่
ั
ิ
ั
กลมท 3 เปนหลกการทเกยวของกบบรรษทภบาลและการควบคมภายใน ซงประกอบดวย ICP 7 – บรรษทภบาล และ ICP 8 –
การบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน
กลุ่มที่ 4 เป็นหลักการที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการในการก�ากับดูแล ประกอบด้วย ICP 9 – การทบทวนและการรายงานการก�ากับดูแล
ICP 10 – มาตรการการป้องกันและแก้ไข ICP 11 – การบังคับใช้กฎหมาย และ ICP 12 – การเลิกกิจการและการออกจากตลาด
กลุ่มท่ 5 เป็นหลักการท่เก่ยวข้องกับมาตรฐานการกากับดูแล ประกอบด้วย ICP 13 – การประกันภัยต่อและการโอนความเส่ยงรูปแบบ
ี
�
ี
ี
ี
ี
อ่น ICP 14 – การประเมินมูลค่า ICP 15 – การลงทุน ICP 16 – การบริหารความเส่ยงเพ่อความม่นคงทางการเงิน และ ICP 17 – ความเพียงพอ
ื
ื
ั
ของเงินกองทุน
กลุ่มที่ 6 เป็นหลักการที่เกี่ยวข้องกับการประกอบธุรกิจและการคุ้มครองผู้บริโภค ประกอบด้วย ICP 18 – คนกลางประกันภัย ICP 19
– การประกอบธุรกิจ ICP 20 – การเปิดเผยข้อมูลต่อสาธารณะ และ ICP 21 – การจัดการการฉ้อฉลในการประกันภัย
กลุ่มที่ 7 เป็นหลักการที่เกี่ยวข้องกับการก�ากับดูแลแบบกลุ่ม ประกอบด้วย ICP 22 – การต่อต้านการฟอกเงินและการสนับสนุนทาง
การเงินแก่การก่อการร้าย ICP 23 – การก�ากับดูแลธุรกิจแบบรวมกลุ่ม ICP 24 – การก�ากับดูแลธุรกิจประกันภัยและเสถียรภาพระดับมหภาค
ICP 25 – การประสานงานและความร่วมมือในการก�ากับดูแล และ ICP 26 – การประสานงานและความร่วมมือข้ามพรมแดนในการจัดการภาวะ
วิกฤติ
ผู้ประเมินจากโครงการ FSAP จะประเมินความครบถ้วนของกฎหมายว่าส�านักงาน คปภ. ได้ด�าเนินการออกกฎหมายต่าง ๆ ครบถ้วน
ตาม ICPs ทั้งหมดที่เกี่ยวข้องหรือไม่ และประเมินสัมฤทธิ์ผลในการบังคับใช้กฎหมายต่าง ๆ ด้วยว่าเป็นอย่างไร ทั้งยังมีการสอบทานผลการก�ากับ
ดูแลจากภาคเอกชนประกอบการประเมินด้วย ทั้งนี้ การประเมินดังกล่าวจะประเมินเฉพาะกฎหมาย กฎระเบียบ ข้อบังคับที่มีผลบังคับใช้แล้ว ณ
ี
ี
ั
�
ี
�
วันท่ถูกประเมินเท่าน้น ผู้ประเมินจะไม่ได้นากฎหมาย กฎระเบียบ ข้อบังคับท่กาลังจะมีผลบังคับใช้ในอนาคตหรือท่อยู่ระหว่างการดาเนินการ มา
�
พิจารณาประกอบการประเมินแต่อย่างใด โดยผลการประเมิน ICP แต่ละ ICP นั้น จะแบ่งออกเป็น 4 ระดับ ดังนี้
1. Observed – การออกกฎหมายและบังคับใช้กฎหมายเป็นไปตามที่ก�าหนดไว้ใน ICP อย่างครบถ้วน
ี
ี
�
2. Largely Observed – การออกกฎหมายและบังคับใช้กฎหมายเป็นไปตามท่กาหนดไว้ใน ICP เป็นส่วนใหญ่ อาจมีการปฏิบัติท่ขาด
ไปบ้างเล็กน้อย
3. Partly Observed – การออกกฎหมายและบังคับใช้กฎหมายตามที่ก�าหนดไว้ใน ICP ยังไม่จริงจัง
4. Not Observed – การออกกฎหมายและบังคับใช้กฎหมายตามที่ก�าหนดไว้ใน ICP ยังไม่มีความคืบหน้าเท่าที่ควร
วารสารประกันภัย เดือนมกราคม - มีนาคม 2560 15