Page 14 - InsuranceJournal134
P. 14
Risk Intelligence
สถานการณ์ที่ 3 – กรณีความเสี่ยงสูง (Severe Scenario)
ี
นอกจากประเทศไทยจะเผชิญกับความเส่ยงจากตลาดการเงินโลกเช่นเดียวกับกรณี Moderate แล้ว ยังต้องเผชิญกับปัญหาภายใน
ื
ั
ั
ประเทศท่ทาให้ความเช่อม่นต่อเศรษฐกิจไทยส่นคลอนอย่างรุนแรง ส่งผลให้ประเทศไทยถูกปรับลดระดับความน่าเช่อถือลง 2 ระดับ มีเงินทุนไหล
�
ี
ื
ั
ี
ื
ุ
ิ
ิ
�
ั
ุ
ออกอย่างฉับพลัน นอกจากน้แล้ว ภาครฐยังมีข้อจากดในการกระต้นเศรษฐกจและไม่สามารถใช้นโยบายการเงินเพ่อช่วยกระต้นเศรษฐกจได้เพราะ
อาจท�าให้ปัญหาเงินทุนไหลออกทวีความรุนแรงยิ่งขึ้น กอปรกับแนวโน้มอุปสงค์จากต่างประเทศที่ยังอ่อนแอต่อเนื่อง เศรษฐกิจไทยจึงหดตัว โดย
ความเสี่ยงของประเทศ (Country Risk Premium) ที่สูงขึ้นส่งผลให้อัตราผลตอบแทนพันธบัตรระยะยาวสูงขึ้นและราคาสินทรัพย์หดตัว
สถานการณ์ที่ 3 – กรณีความเสี่ยงสูง (Severe Scenario)
แหล่งที่มาของความเสี่ยง การปรับลดระดับความน่าเชื่อถือ (Credit Rating) ของไทยลง 2 ระดับ
ี
การประเมินความเป็นไปได้ท่จะเกิดสถานการณ์ มีความเป็นไปได้ต�่า
ดังกล่าวภายใน 1-3 ปี
ี
การคาดการณ์ผลกระทบของปัจจัยเส่ยงดังกล่าว คาดว่าจะส่งผลกระทบสูงต่อเสถียรภาพระบบการเงิน
ี
ื
ั
ั
ต่อเสถียรภาพระบบการเงิน เศรษฐกิจ – หดตัวรุนแรง จากความเช่อม่นท่ส่นคลอน ส่งผลให้การบริโภคและ
การลงทุนภาคเอกชนหดตัว ขณะที่อุปสงค์ภายนอกอ่อนแอ
ตลาดการเงิน – ความเสี่ยงของประเทศสูงขึ้น ท�าให้เงินทุนไหลออกอย่างฉับพลัน
อัตราผลตอบแทนพันธบัตรสูงขึ้น ตลาดหุ้นตกรุนแรง เงินบาทอ่อนค่า
ภาครัฐ – มีข้อจ�ากัดในการใช้จ่ายเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ
ิ
ธุรกิจและครัวเรือน – อัตราการว่างงานเพ่มสูงข้น ภาคธุรกิจบางส่วนอาจล้มละลาย
ึ
สถาบันการเงิน – NPLs เพิ่มสูงขึ้น สินเชื่อหดตัว ประชาชนบางส่วนถอนเงินออก
จากสถาบันการเงิน
ี
นโยบายการเงิน – ไม่สามารถลดดอกเบ้ยลงได้เพราะอาจกระตุ้นเงินทุนไหลออก
เพิ่มเติม
ปัจจัยทางเศรษฐกิจมหภาคท่ใช้สาหรับการทดสอบ 1) GDP Growth (Real GDP) มีค่าเป็น -3.0%
�
ี
ภาวะวิกฤต 2) อัตราเงินเฟ้อ มีค่าเป็น 0.6%
3) อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลไทย มีค่าดังตารางที่ก�าหนดให้
ี
4) Credit Downgrading โดยการปรบ Credit Rating ของตราสารหน้ ลดลง 1 notch
ั
5) ราคาตราสารทุนลดลง 40.0%
6) ราคาอสังหาริมทรัพย์ลดลง 10.0%
ผลการทดสอบภาวะวิกฤตของธนาคารพาณิชย์ บริษัทหลักทรัพย์ กองทุนรวม และบริษัทประกันภัย จะถูกรวบรวม ประเมินผล และ
น�าเสนอต่อที่ประชุมร่วมของคณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) และคณะกรรมการนโยบายสถาบันการเงิน (กนส.) ต่อไป โดยธนาคารแห่ง
ี
�
ั
ประเทศไทย กลต. และสานักงาน คปภ. อาจพิจารณาให้มีการดาเนินการทดสอบภาวะวิกฤตคร้งท่ 2 ตามตารางการประเมินความเส่ยง
�
ี
(Risk Assessment Matrix: RAM) ที่อาจจะก�าหนดสถานการณ์ในการทดสอบขึ้นมาใหม่อีกครั้ง เพื่อเตรียมความพร้อมของภาคการเงินก่อนเข้า
รับการประเมินจริงในปี 2561
14 วารสารประกันภัย ฉบับที่ 134