Page 9 - InsuranceJournal134
P. 9
Risk Intelligence
ท�ำควำมรู้จักกับ
FSAP
โดย ดร. ปิยวดี โขวิฑูรกิจ
สวัสดีค่ะผู้อ่านทุกท่าน กลับมาพบกับคอลัมน์ Risk Intelligence อีกครั้ง หลังจากห่างหายกันไปพักหนึ่ง โดยในฉบับนี้ เราจะมาพูดถึง
ประเด็นฮอตฮิตในเวลานี้เกี่ยวกับ FSAP กัน
�
ี
ี
�
ท่านผู้อ่านหลายท่านคงจะได้ยินคาว่า FSAP หนาหูในช่วงน้ และสงสัยว่า FSAP คืออะไร สาคัญอย่างไร และเก่ยวข้องกับธุรกิจ
ประกันภัยอย่างไรบ้าง … FSAP เป็นค�าย่อของ Financial Sector Assessment Program ซึ่งเป็นโครงการประเมินภาคการเงินที่ธนาคารโลก
ี
ึ
(World Bank) และกองทุนการเงินระหว่างประเทศ (International Monetary Fund: IMF) ได้ริเร่มข้นในปี 2542 ภายหลังจากท่เกิด
ิ
วิกฤติทางการเงินในเอเชียในปี 2540 ที่เรารู้จักกันดีในนามของ “วิกฤตต้มย�ากุ้ง”
ั
ึ
�
การเกิดวิกฤติต้มยากุ้งในประเทศไทยซ่งส่งผลรุนแรงและลุกลามไปยังหลายประเทศในทวีปเอเชียน้น สะท้อนให้เห็นถึงจุดอ่อนและ
ี
ิ
ความเปราะบางของภาคการเงินในหลายประเทศ ด้วยเหตุน้ ธนาคารโลกและกองทุนการเงินระหว่างประเทศจึงได้ริเร่มโครงการประเมินภาค
ี
การเงินข้น โดยมีวัตถุประสงค์หลักในการประเมินการปฏิบัติในภาคการเงินว่าเป็นไปตามมาตรฐานสากลหรือไม่ มีจุดเปราะบางใดบ้างท่อาจ
ึ
ก่อให้เกิดวิกฤตทางการเงิน และน�าเสนอข้อเสนอแนะเชิงนโยบายที่เป็นประโยชน์ การประเมินภาคการเงินนี้จะครอบคลุมธุรกิจธนาคารพาณิชย์
ธุรกิจหลักทรัพย์ ธุรกิจประกันภัย ระบบการช�าระเงินและช�าระดุล รวมถึงการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินและการต่อต้านการสนับสนุน
ทางการเงินแก่การก่อการร้ายด้วย
ี
�
ถึงแม้การเข้ารับการประเมินภาคการเงินน้จะเป็นการดาเนินการโดยสมัครใจก็ตาม แต่หากภาคการเงินของประเทศไทยได้รับการประเมิน
�
�
ี
�
ในระดับสากลว่ามีระบบการกากับดูแลสถาบันการเงินท่โปร่งใสและมีมาตรฐานตามหลักสากลแล้ว ก็จะทาให้ระบบกากับสถาบันการเงินของ
ั
�
ื
ั
ื
ิ
ประเทศมีความน่าเช่อถือและเพ่มความความเช่อม่นให้กับภาคการเงินของประเทศไทยได้เป็นอย่างดี ท้งยังเป็นประโยชน์ในการทาธุรกรรมข้าม
ี
ี
ื
�
พรมแดนเพ่อขยายธุรกิจ นอกจากน้แล้ว หน่วยงานท่มีหน้าท่กากับดแลยังสามารถนาผลการประเมินท่ได้รับไปใช้ประกอบการกาหนดนโยบาย
ี
�
�
ู
ี
�
�
ั
ี
การจัดลาดับความสาคัญของแผนยทธศาสตร์ และการกาหนดแนวทางการบรหารความเส่ยงทเก่ยวข้อง ตลอดจนประเด็นท่ควรต้องปรบปรุง
�
่
ี
ี
ี
ุ
ิ
แก้ไข เพื่อให้ภาคการเงินของประเทศไทยมีความมั่นคงมากยิ่งขึ้น ด้วยเหตุนี้ ธนาคารแห่งประเทศไทย ส�านักงานคณะกรรมการก�ากับหลักทรัพย์
ื
�
�
และตลาดหลักทรัพย์ และสานักงานคณะกรรมการกากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย จึงได้ร่วมกันเตรียมความพร้อมเพ่อเข้ารับการ
ประเมินดังกล่าวในปี 2561
วารสารประกันภัย เดือนมกราคม - มีนาคม 2560 9