Page 10 - InsuranceJournal134
P. 10
Risk Intelligence
วิธีการประเมินโดยธนาคารโลกและกองทุนการเงินระหว่างประเทศ
�
ธนาคารโลกและกองทุนการเงินระหว่างประเทศจะใช้ระยะเวลาประมาณ 2 อาทิตย์ในการประเมินระบบการกากับดูแลของภาครัฐและ
�
สอบทานผลการกากับดูแลจากภาคเอกชน โดยผู้แทนจากธนาคารโลกและกองทุนการเงินระหว่างประเทศจะรวบรวมข้อมูลจากหลายหลายภาค
ส่วนที่เกี่ยวข้อง ดังต่อไปนี้
1. ผู้กาหนดนโยบาย ผู้กากับดูแล และหน่วยงานของรัฐ – กระทรวงการคลัง กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงยุติธรรม ธนาคารแห่ง
�
�
�
�
�
�
ประเทศไทย สานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ สานักงานคณะกรรมการกากับและส่งเสริมการประกอบ
ธุรกิจประกันภัย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย สมาคมตลาดตราสารหนี้ไทย กรมส่งเสริมสหกรณ์ ส�านักงานส่งเสริมวิสาหกิจ
ขนาดกลางและขนาดย่อม
2. สถาบันการเงิน – ธนาคารพาณิชย์ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ธนาคารออมสิน
3. สถาบันการเงินที่ไม่ใช่ธนาคาร – สหกรณ์ บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนรวม บริษัทหลักทรัพย์ บริษัทประกันภัย กองทุนหมู่บ้าน
4. สมาคมที่เกี่ยวข้อง – สมาคมธนาคารไทย สมาคมประกันชีวิตไทย สมาคมประกันวินาศภัยไทย สมาคมบริษัทจัดการลงทุน สมาคม
บริษัทหลักทรัพย์ไทย สมาคมไทยผู้ประกอบธุรกิจเงินร่วมลงทุน
5. หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับโครงสร้างพื้นฐานทางการเงิน – บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ ผู้ตรวจสอบบัญชี บริษัทจัดอันดับ
ความน่าเช่อถือ บริษัทท่ปรึกษากฎหมาย บริษัทประเมินมูลค่าทรัพย์สิน องค์กรทางวิชาชีพ (สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัท
ื
ี
ไทย สมาคมนักคณิตศาสตร์ประกันภัยแห่งประเทศไทย สมาคมซีเอฟเอไทยแลนด์ สมาคมนักวางแผนการเงินไทย สภาทนายความ
สมาคมนักประเมินราคาอิสระไทย สภาวิชาชีพบัญชี) สถาบันการศึกษา และสมาคมที่เกี่ยวข้อง (สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย สภา
อุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย หอการค้าไทย)
ึ
�
ี
ั
ข้อมูลท่ได้รับจะถูกนามาใช้ในการประเมินภาคการเงิน ซ่งแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ 1) การประเมินเสถียรภาพและความม่นคงทาง
การเงิน และ 2) การประเมินบทบาทของระบบสถาบันการเงินต่อการเจริญเติบโตของระบบเศรษฐกิจ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
1. การประเมินเสถียรภาพและความมั่นคงทางการเงิน
ั
กองทุนการเงินระหว่างประเทศเป็นผู้รับผิดชอบหลักในการประเมินเสถียรภาพและความม่นคงทางการเงิน ซ่งจะเก่ยวข้องกับประเด็น
ึ
ี
ดังต่อไปนี้
การประเมินจุดอ่อนและจุดแข็งของระบบการเงินของประเทศ ตลอดจนความแข็งแกร่งและจุดเปราะบางของภาคการเงิน
การวิเคราะห์ความเสี่ยงเชิงระบบที่จะส่งผลกระทบต่อระบบการเงินในอนาคตอันใกล้ รวมถึงความเชื่อมโยงของความเสี่ยงระหว่าง
สถาบันการเงินประเภทต่าง ๆ และผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้นและลุกลามไปยังประเทศอื่น
�
การประเมินกรอบการกากับดูแลสถาบันการเงินแบบองค์รวม ซ่งคานึงถึงการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและการเงินของประเทศ
�
ึ
และการก�ากับดูแลสถาบันการเงินแต่ละราย ซึ่งค�านึงถึงความเข้มแข็งและความเสี่ยงทางการเงินของสถาบันการเงินเป็นราย ๆ ไป
�
การประเมินคุณภาพในการกากับดูแลสถาบันการเงินประเภทต่าง ๆ การประเมินความสอดคล้องของเกณฑ์การกากับดูแลเทียบกับ
�
มาตรฐานสากล และการด�าเนินมาตรการเพื่อแก้ไขปัญหาหากเกิดความเสี่ยงเชิงระบบขึ้น
2. การประเมินบทบาทของระบบสถาบันการเงินต่อการเจริญเติบโตของระบบเศรษฐกิจ
�
ธนาคารโลกเป็นผู้รับผิดชอบหลักในการประเมินบทบาทของระบบสถาบันการเงินต่อการเจริญเติบโตของระบบเศรษฐกิจ โดยจะดาเนิน
การในประเทศกาลังพัฒนาและประเทศท่เป็นตลาดท่เกิดใหม่ (Emerging Market Countries) วัตถุประสงค์หลักของการประเมินจะเน้นการ
ี
ี
�
จัดการจุดเปราะบางท่สาคัญซ่งจะส่งผลต่อความแข็งแกร่งของภาคการเงิน ประสิทธิผลของระบบสถาบันการเงิน และบทบาทของภาคการเงินต่อ
ี
ึ
�
ื
ี
การเจริญเติบโตของระบบเศรษฐกิจไทย รวมถึงการระบุถึงความช่วยเหลือด้านเทคนิคท่ภาคการเงินต้องการท้งในระยะกลางและระยะยาวเพ่อท ี ่
ั
จะพัฒนาความมั่นคงของภาคการเงินต่อไปในอนาคต โดยการประเมินจะเกี่ยวข้องกับประเด็นต่อไปนี้
10 วารสารประกันภัย ฉบับที่ 134