Page 15 - InsuranceJournal136
P. 15

รอบรู้ประกันภัย

                                    ท�ำไมประเทศไทย





             ต้องมีส�ำนักงำนโลจิสติกส์แห่งชำติ (2)






                                                                                      โดย สายัณห์ จันทร์วิภาสวงศ์
                               ประธานกรรมการและประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท เอ็กซ์เซลเล้นท์ บิสเนส คอร์ปอร์เรชั่น อินเตอร์แนชชั่นแนล จ�ากัด และ
                                       ประธานคณะท�างานพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและโลจิสติกส์ในคณะอนุกรรมาธิการขับเคลื่อนการปฏิรูปเศรษฐกิจ
                                                               ด้านอุตสาหกรรมและบริการ สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ (สปท.)



                                                                                                   ื
                 ดังท่กล่าวไปในวารสารประกันภัยฉบับท่แล้วว่า นอกจาก  ประเทศไทยให้ความสาคัญกับการขนส่งต่อเน่องหลายรูปแบบ
                                               ี
                                                                                  �
                    ี
          ความไม่เป็นเอกภาพด้านการบริหาร จัดการ ควบคุม ประเมินยุทธศาสตร์  เช่น ใช้การขนส่งสินค้าจากไร่นาหรือโรงงานอุตสาหกรรมทางถนน
                                                                                     ื
          โลจิสติกส์ของชาติ เพราะระบบโลจิสติกส์กระจัดกระจายไปอยู่กับ   ไปต่อด้วยรถไฟเข้าท่าเรือเพ่อส่งออก จะประหยัดต้นทุนการขนส่ง
          หน่วยงานภาครัฐมากกว่า 16 หน่วยงาน ยังมีปัญหาด้านต่าง ๆ ท่เก่ยวข้อง   มากกว่าใช้การขนส่งโดยใช้ถนนอย่างเดียว
                                                     ี
                                                       ี
          กับโลจิสติกส์ ดังนี้                                 5.  เขตเศรษฐกิจพิเศษหลาย ๆ เขต ขาดโครงสร้างพื้นฐานและขาด
           1.  ต้นทุนโลจิสติกส์สูงถึง 14.1% ต่อ GDP               การเช่อมโยงด้านการขนส่งในรูปแบบต่อเน่อง เช่น มีแต่ถนนเช่อม
                                                                                                             ื
                                                                                                ื
                                                                      ื
           2.  ไม่มีศูนย์รับ-ส่ง จัดเก็บ กระจายสินค้าเกษตร ท�าให้เกษตรกรต้อง  กับเขตเศรษฐกิจพิเศษ แต่ไม่มีระบบราง ระบบการขนส่งทางน�้า
             แบกรับต้นทุนโลจิสติกส์ที่สูงขึ้น จากการประเมินของ สปช. พบ  6.  ท่าเรือชายฝั่งท้งด้านอ่าวไทยและฝั่งอันดามันไม่ได้พัฒนาปรับปรุง
                                                                            ั
                                                                                            ้
                                                                                            �
             ว่าค่าขนส่งข้าวเปลือกจากท้องนาไปโรงสีในแต่ละปีประมาณ   ให้เกิดประโยชน์ต่อการขนส่งทางนา การขนส่งสินค้าระหว่าง
                                                                            ี
             9,600 ล้านบาท                                        จังหวัด แทนท่จะใช้การขนส่งทางเรือผ่านท่าเรือชายฝั่ง แต่กลับใช้
                                         ั
                                        ิ
                                     ึ
                                                      ิ
                          ุ
                      ั
                                                    ิ
           3.  พ่อค้าและนกลงทนต่างชาติรวมถงบรษทขนาดใหญ่มีอทธพลและ  การขนส่งทางถนน ซึ่งต้นทุนสูงกว่า
                                        �
                �
                                   ื
             มีอานาจเหนือตลาดในการรับซ้อและกาหนดราคา  สภานิติบัญญัต ิ  7.  ท่าเรืออย่างน้อยสองแห่ง สร้างแล้วไม่ได้ใช้ เช่น ท่าเรือนครสวรรค์
             แห่งชาติ (สนช.) จัดทารายงานเร่อง “การต้งโรงคัดบรรจุผลไม้   บางแห่งสร้างแล้วใช้ประโยชน์ไม่เต็มท่ เช่น ท่าเรือระนอง ในขณะ
                                                                                             ี
                                      ื
                              �
                                              ั
             (ล้ง) ของผู้ประกอบการชาวต่างชาติในจังหวัดจันทบุรี” โดยมีข้อ  เดียวกันสนามบินหลายแห่งในหลายจังหวัดสร้างแล้วไม่ได้ใช้ หรือ
                                                       ื
                  ี
                                          �
             สรุปท่น่าสนใจข้อหน่งว่า “หากไม่มีการดาเนินการใด ๆ เพ่อแก้ไข  ใช้ไม่คุ้มค่าการลงทุน เพราะสร้างตามความต้องการของนักการเมือง
                            ึ
                                 �
                   ั
             ปัญหาดงกล่าว อาชีพการทาสวนผลไม้ของเกษตรกรของไทยอาจ   ท้องถิ่น
             หมดไป ส่งผลให้ธุรกิจค้าผลไม้ของไทยต้องเผชิญกับภาวะวิกฤต ิ  8.  ไม่มีระบบ IT ในการจัดเก็บติดตามเชื่อมโยงข้อมูลด้านโครงสร้าง
                                                                   ื
             ด้านราคาและตลาดได้  และต่อไปประเทศไทยจะอยู่ในฐานะผู้รับ  พ้นฐานและโลจิสติกส์ ข้อมูลจึงกระจัดกระจายไปในทุกหน่วยงาน
             จ้างปลูกผลไม้  ซึ่งนับว่าเป็นความเสี่ยงของประเทศ”    และไม่ตรงกัน
           4.  การขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบในหลายจุดของประเทศ ทั้งถนน   9.  ไม่มีระบบติดตามยานพาหนะและสินค้าเข้าออก ณ ด่านชายแดน
             รถไฟ เครื่องบิน เรือ ท่อ ขาดความต่อเนื่อง แต่เน้นและให้ความ  ซึ่งกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ
             ส�าคัญกับการขนส่งทางถนนมากถึง 82% ทั้ง ๆ ที่การขนส่งทาง  10. การเสียชีวิตจากอุบัติเหตุบนถนนของไทยสูงมากเป็นอันดับ 2 ของ
                                              ้
                                              �
             ถนนมีต้นทุนสูงสุด เม่อเทียบกับค่าขนส่งทางนาและทางราง หาก  โลก
                             ื


                                                                   วารสารประกันภัย  เดือนกรกฎาคม - กันยายน  2560  15
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20