Page 12 - InsuranceJournal136
P. 12
วิชาการ IPRB
ตารางที่ 2 (ต่อ) ตารางเปรียบเทียบความรุนแรงของค่าสินไหมทดแทนในช่วงไตรมาสเดียวกันในแต่ละปี
ไตรมาสที่ ไตรมาสที่
ประเภทรถ ไตรมาสที่ 2556 2557 2558 2559 2557/2556 2558/2557 2559/2558
(1) (2) (3) (4) (5)=(2)/(1) (6)=(3)/(2) (7)=(4)/(3)
รถประเภทอื่น 1 56,460 59,123 61,457 59,256 105% 104% 96%
2 59,594 59,591 57,353 76,186 100% 96% 133%
3 58,296 55,077 57,978 74,639 94% 105% 129%
4 63,609 56,681 60,571 75,269 89% 107% 124%
หมายเหตุ ข้อมูลสิ้นสุด ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560
ส�านักงานฯ ค�านวณต้นทุนค่าสินไหมทดแทน (Loss Cost) โดยน�าความถี่ในการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทน (Claims Frequency) มา
คูณกับความรุนแรงของค่าสินไหมทดแทน (Claims Severity) และพบว่าต้นทุนค่าสินไหมทดแทนมีฤดูกาล (Seasonality) ซึ่งเป็นผลมาจากที่
ิ
ี
ู
่
ู
ั
�
ี
้
้
่
ึ
ั
่
่
ี
้
ุ
ความถในการเรยกรองคาสินไหมทดแทนมฤดกาล และพบวาตนทุนคาสนไหมทดแทนของรถจกรยานยนต์สงขนอยางมนยสาคญและสูงกวาตนทน
ั
่
้
่
ี
ค่าสินไหมทดแทนของรถยนต์นั่งไม่เกิน 7 ที่นั่งและรถบรรทุกขนาดไม่เกิน 3 ตัน หลังจากที่นายทะเบียนเพิ่มวงเงินความคุ้มครอง ดังรูปที่ 3
รูปที่ 3 ต้นทุนค่าสินไหมทดแทนของการประกันภัยรถยนต์ภาคบังคับ แยกตามประเภทรถ
ส�านักงานฯ ค�านวณอัตราส่วนค่าสินไหมทดแทน (Loss Ratio) และพบว่าอัตราส่วนค่าสินไหมทดแทนมีฤดูกาล (Seasonality) ในรูป
แบบเดียวกับต้นทุนค่าสินไหมทดแทน (Loss Cost) เนื่องจากอัตราเบี้ยประกันภัยส�าหรับการประกันภัยภาคบังคับนั้นมีลักษณะเป็นอัตราแบบ
คงที่ โดยอัตราส่วนค่าสินไหมทดแทนของรถจักรยานยนต์นั้นเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยส�าคัญหลังจากที่มีการปรับเพิ่มความคุ้มครอง ในขณะที่อัตราส่วน
ึ
ั
ื
ค่าสินไหมทดแทนของรถประเภทอ่นน้นไม่ได้เพ่มอย่างมีนัยสาคัญดังเช่นรถจักรยานยนต์ ซ่งแม้ว่าความรุนแรงของค่าสินไหมทดแทนจะสูงข้นแต่
ึ
�
ิ
ความถี่ในการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนนั้นมีแนวโน้มลดลง ประกอบกับอัตราเบี้ยประกันภัยของรถประเภทอื่นสูงกว่าอัตราเบี้ยประกันภัยของ
รถจักรยานยนต์มาก จึงส่งผลให้อัตราส่วนค่าสินไหมทดแทนยังคงอยู่ระดับเดิม ดังรูปที่ 4
12 วารสารประกันภัย ฉบับที่ 136