Page 10 - InsuranceJournal136
P. 10
วิชาการ IPRB
ส�านักงานฯ ได้ศึกษาถึงผลกระทบต่อความถี่ในการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทน (Claims Frequency) ผลกระทบต่อความรุนแรงของ
ค่าสินไหมทดแทน (Claims Severity) ผลกระทบต่อต้นทุนค่าสินไหมทดแทน (Loss Cost) และอัตราส่วนค่าสินไหมทดแทน (Loss Ratio)
ิ
ื
ี
ี
�
ี
ี
ึ
ั
ท่เปล่ยนแปลงสืบเน่องจากการเพ่มความคุ้มครองดังกล่าว ซ่งผลการศึกษาในคร้งน้อาจเป็นประโยชน์ต่อการนาไปใช้ในการปรับปรุงอัตราเบ้ย
ประกันภัยให้เหมาะสมตามความเสี่ยงภัยที่แท้จริงในอนาคต
ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษา
ส�านักงานฯ ใช้ข้อมูลการรับประกันภัยรถยนต์ภาคบังคับย้อนหลังรายไตรมาสในระหว่างปี 2555 – 2559 ข้อมูลสิ้นสุด ณ วันที่ 31
มีนาคม 2560 จ�านวนทั้งสิ้น 129.1 ล้านหน่วยเสี่ยงภัย (Exposure) มาท�าการวิเคราะห์ผลกระทบจากการเพิ่มวงเงินความคุ้มครอง
ผลกระทบจากการเพิ่มวงเงินความคุ้มครองการประกันภัยรถยนต์ภาคบังคับ
ส�านักงานฯ ได้ท�าการศึกษาโดยแยกรถออกเป็น 4 ประเภทตามปริมาณการรับประกันภัย ซึ่งประกอบด้วย รถจักรยานยนต์ จ�านวน
63.6 ล้านหน่วยเสี่ยงภัย รถยนต์นั่งไม่เกิน 7 ที่นั่ง จ�านวน 34.4 ล้านหน่วยเสี่ยงภัย รถบรรทุกขนาดไม่เกิน 3 ตัน จ�านวน 24.7 ล้านหน่วยเสี่ยง
ี
ึ
ี
ภัย และรถประเภทอ่น จานวน 8.4 ล้านหน่วยเส่ยงภัย ซ่งพบว่า ความถ่ในการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทน (Claims Frequency) มีฤดูกาล
ื
�
ี
ี
(Seasonality) โดยรถจักรยานยนต์มีความถ่ในการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนสูงท่สุดและมีแนวโน้มในการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนท่สูงข้น
ี
ึ
ส่วนรถประเภทอื่นมีแนวโน้มในการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนลดลง ดังรูปที่ 1
รูปที่ 1 ความถี่ในการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนของการประกันภัยรถยนต์ภาคบังคับ แยกตามประเภทรถ
ในขณะที่ความรุนแรงของค่าสินไหมทดแทน (Claims Severity) สูงขึ้นอย่างมีนัยส�าคัญ ตั้งแต่ไตรมาสที่ 1 ปี 2558 และ ไตรมาสที่ 2
ปี 2559 ซึ่งสอดคล้องกับช่วงเวลาที่นายทะเบียนสั่งให้เพิ่มวงเงินความคุ้มครอง ดังรูปที่ 2
10 วารสารประกันภัย ฉบับที่ 136