Page 4 - InsuranceJournal137
P. 4
เรื่องเด่น
เข้าใจ “การประกันภัยต่อ”:
บริบทที่จ�าเป็นต่อธุรกิจประกันภัยไทย
โดย ส�านักวิจัยและสถิติ
บมจ. ไทยรับประกันภัยต่อ และ บมจ. ไทยรีประกันชีวิต
�
�
ผู้ท่คราวอดในวงการประกันภัยคงพอจะทราบกันดีว่าเบ้องหลังการรับประกันภัยยังมีกระบวนการหน่งท่มีความสาคัญและเกิดควบคู่
่
ี
ี
ึ
ื
กันไป นั่นก็คือ “การประกันภัยต่อ” ซึ่งถือว่าเป็นปัจจัยที่มีความจ�าเป็นต่อการด�าเนินธุรกิจประกันภัยในยุคปัจจุบันเป็นอย่างมาก แต่ก็เชื่อว่ายัง
ี
ี
ื
�
ิ
ี
มีผู้อ่านอีกหลายท่านท่เพ่งจะได้มีโอกาสก้าวเข้ามาสู่วงการน้ จึงอาจจะยังไม่คุ้นเคยกับหลักการดังกล่าว และเช่อว่าน่าจะมีคาถาม ท่ว่า “การ
ื
ื
ึ
ี
ี
�
ประกันภัยต่อ” คืออะไร สาคัญและมีประโยชน์อย่างไรบ้าง บทความน้จึงได้ถูกเขียนข้นเพ่อให้ความกระจ่างแก่ทุกคนท่ยังไม่คุ้นชินกับเร่องราว
ของการประกันภัยต่อ เชื่อมั่นว่าสิ่งที่ถูกน�าเสนอนี้จะเป็นประโยชน์แก่ผู้อ่านและสร้างแรงจูงใจให้เกิดความอยากรู้เรื่องราวของการประกันภัยต่อ
เพิ่มมากยิ่งขึ้นไปอีก
“การประกันภัยต่อ” คืออะไร?
หากจะสรุปสั้น ๆ “การประกันภัยต่อ” (Reinsurance Ceded) คือ การถ่ายโอนความเสี่ยงภัยบางส่วนหรือทั้งหมดไปให้บริษัทผู้รับ
ั
�
ประกันภัยต่อน่นเอง โดยจะมีการทาข้อตกลง/สัญญาร่วมกันระหว่างบริษัทรับประกันภัยโดยตรง (ในฐานะผู้เอาประกันภัยต่อ – Ceding Company/
Reinsured) กับบริษัทรับประกันภัยต่อ (ในฐานะผู้รับประกันภัยต่อ - Reinsurer) ว่าผู้รับประกันภัยต่อจะชดใช้ค่าสินไหมทดแทนให้กับ
ี
ี
ี
ผู้เอาประกันภัยต่อตามสัดส่วนหรือมูลค่าท่ได้ตกลงกันไว้ โดยมีค่าตอบแทนการเอาประกันภัยต่อในรูปแบบของเบ้ยประกันภัยต่อ นอกจากน้แล้ว
�
ี
บริษัทรับประกันภัยต่อยังสามารถท่จะทาประกันภัยต่อไปยังผู้รับประกันภัยต่อช่วง (บริษัทรับประกันภัยต่อช่วง - Retrocessionaire) ได้อีกทอด
หนึ่งด้วยเช่นกัน กระบวนการหลังนี้เป็นที่เรียกกันทั่วไปว่า “การประกันภัยต่อช่วง” (Retrocession)
ิ
ื
เพ่อให้เกิดความกระจ่างกับคานิยามข้างบนมากย่งข้น ขออธิบายกระบวนการประกันภัยต่อด้วยแผนภาพง่าย ๆ ดังท่จะได้แสดงต่อไปน ี ้
ึ
ี
�
กระบวนการทั้งหมดเริ่มต้นจากการที่ผู้เอาประกันภัย (1) ได้ท�าประกันชีวิต/ประกันวินาศภัยกับบริษัทรับประกันภัยโดยตรง (2) ซึ่งหากบริษัท
ึ
พิจารณาเห็นควรก็จะพิจารณาเอาประกันภัยต่อกับบริษัทรับประกันภัยต่อ (3) ซ่งบริษัทรับประกันภัยต่อเองก็สามารถท่จะดาเนินการจัดทา
ี
�
�
ประกันภัยต่อไปยังบริษัทรับประกันภัยต่อช่วง (4) อีกทอดหนึ่งได้เช่นกัน ในเชิงปฏิบัติแล้วบริษัทรับประกันภัยโดยตรงสามารถพิจารณาเลือกท�า
ประกันภัยต่อกับบริษัทรับประกันภัยต่อได้มากกว่าหน่งแห่ง นอกจากน้แล้ว บริษัทรับประกันภัยโดยตรงยังสามารถเล่นบทบาทเป็นได้ท้ง
ึ
ั
ี
บริษัทรับประกันภัยโดยตรงและบริษัทรับประกันภัยต่อ/ต่อช่วงได้อีกด้วย และหากเมื่อมีความเสียหายเกิดขึ้นก็จะมีการชดใช้ค่าสินไหมทดแทน
กลับคืนไปยังผู้เอาประกันภัย/ผู้เอาประกันภัยต่อเป็นทอด ๆ อีกด้วย
รูปที่ 1: แผนภาพแสดงการท�าประกันภัยและการท�าประกันภัยต่อ/ต่อช่วงและการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทน
ท�าประกันภัย ท�าประกันภัยต่อ ท�าประกันภัยต่อช่วง
(2) (3) (4)
(1)
ผู้เอาประกันภัย บริษัทรับประกันภัย บริษัทรับประกันภัย บริษัทรับประกันภัย
โดยตรง ต่อ ต่อช่วง
จ่ายค่าสินไหมทดแทน จ่ายค่าสินไหมทดแทน จ่ายค่าสินไหมทดแทน
จากรับประกันภัย จากรับประกันภัยต่อ จากรับประกันภัยต่อช่วง
4 วารสารประกันภัย ฉบับที่ 137