Page 5 - InsuranceJournal137
P. 5
เรื่องเด่น
“การประกันภัยต่อ” ให้ประโยชน์อย่างไร?
ั
ั
ิ
ู
้
ั
ื
ุ
่
ี
ั
่
ั
ิ
ั
ในเมอการถ่ายโอนความเสยงของบคคลไปยงบรษทประกนภยก่อให้เกดประโยชน์แก่ทงผ้เอาประกนภยและบรษทประกนภย ดงนน
ั
ั
ั
ิ
ั
ั
ั
้
การเอาประกันภัยต่อของบริษัทประกันภัยก็มีตรรกะที่ไม่แตกต่างกัน ซึ่งความจ�าเป็นหรือประโยชน์ของ “การประกันภัยต่อ” หากว่ากันไปตาม
จริงแล้วก็จะมีอยู่ด้วยกันหลายประเด็น แต่ที่ส�าคัญ ๆ พอจะสรุปได้ดังนี้
ั
ื
ิ
ื
1. เพ่อเพ่มศักยภาพและความสามารถในการรับประกันภัย บริษัทประกันภัยโดยท่วไปต่างก็มุ่งเน้นให้ธุรกิจมีการเติบโต แต่เน่องจาก
ี
ั
�
ึ
�
ั
�
�
ี
ิ
ี
�
ทรัพยากรทางการเงินท่จาเป็นสาหรบการรองรับความเส่ยงมต้นทุนสูงและมีจานวนจากด บรษัทจงมีความจาเป็นท่จะต้องใช้การประกันภัยต่อ
ี
ึ
เข้ามาช่วยถ่ายโอนความเส่ยงบางส่วนออกไป เพ่อให้บริษัทสามารถมีศักยภาพท่เพียงพอท่จะรับประกันภัยได้มากข้น สามารถรับประกันภัย
ี
ี
ี
ื
ี
�
ี
ี
ั
รายใหญ่หรือท่มีความเส่ยงสูงได้ โดยเลือกรูปแบบ/วิธีการทาประกันภัยต่อให้เหมาะสมตามความเส่ยงน้น ๆ อีกท้งยังสามารถขยายธุรกิจใน
ั
การรับประกันภัยสาหรับผลิตภัณฑ์/ช่องทางใหม่ ๆ หรือขยายตลาดให้กว้างขวางข้นได้ เพ่อท่จะทาให้บริษัทสามารถท่จะเติบโตได้อย่างม่นคง
ึ
ี
ี
�
ั
ื
�
เป็นไปตามนโยบายที่ผู้บริหารได้ก�าหนดไว้ โดยในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา ปี 2550-2559 ธุรกิจประกันภัยมีการเติบโตมาอย่างต่อเนื่อง ส�าหรับธุรกิจ
ประกันวินาศภัยมีมูลค่าเงินเอาประกันภัยเติบโตโดยเฉลี่ย 8% ต่อปี ส�าหรับธุรกิจประกันชีวิตคิดเป็น 16% ต่อปี (รูปที่ 2)
รูปที่ 2: มูลค่าเงินเอาประกันภัยโดยรวมของธุรกิจประกันภัยในประเทศไทยตั้งแต่ปี 2550 - 2559 (ล้านบาท)
ที่มา : ส�านักงาน คปภ. สมาคมประกันชีวิตไทย และการค�านวณของส�านักวิจัยและสถิติ
ิ
ั
ื
ี
ิ
2. เพ่อเพ่มความม่นคงทางการเงิน การท่บริษัทมีการทาประกันภัยต่อเพ่อถ่ายโอนความเส่ยงบางส่วนออกไปนอกจากจะสามารถเพ่ม
ี
�
ื
ศักยภาพในการรับประกันภัยได้มากข้นแล้ว หากบริษัทมีการบริหารจัดการประกันภัยต่อท่ดี หรือมีนโยบายหรือกลยุทธ์การทาประกันภัยต่อท ่ ี
�
ึ
ี
เหมาะสม ก็จะช่วยให้เกิดประโยชน์อื่น ๆ ตามมา ยกตัวอย่างเช่น เมื่อเกิดเหตุการณ์มหันตภัย ภัยธรรมชาติ หรือเหตุการณ์ความรุนแรงต่าง ๆ
การประกันภัยต่อก็จะมาช่วยบรรเทาความเสียหายทางการเงินจากการรับประกันภัย เน่องจากบริษัทจะได้การรับชดใช้ค่าสินไหมกลับคืนมาตาม
ื
สัญญา/ข้อตกลงที่ได้ท�ากันไว้ ซึ่งก็จะช่วยลดความผันผวนของอัตราค่าสินไหมทดแทนได้ โดยหากมีการควบคุมอัตราค่าสินไหมทดแทนประกอบ
กับอัตราค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสมแล้วก็จะเป็นปัจจัยส�าคัญปัจจัยหนึ่งที่ส่งผลให้บริษัทมีความมั่นคงทางการเงินตามมา
ประโยชน์ของการประกันภัยต่อมิได้จากัดอยู่แค่ภาคธุรกิจเพียงเท่าน้น หากแต่ยังมีผลกระทบเชิงบวกต่อภาคเศรษฐกิจและสังคมโดย
�
ั
รวมด้วยเช่นกัน เนื่องจากจะเพิ่มโอกาสให้เงินค่าสินไหมทดแทนถึงมือของผู้เอาประกันภัยได้อย่างรวดเร็วและครบถ้วนได้มากยิ่งขึ้นเมื่อเทียบกับ
�
กรณีท่บริษัทประกันภัยไม่มีนโยบายการทาประกันภัยต่อ ซ่งก็จะทาให้การฟื้นฟูและบรรเทาความเสียหายต่อภาคเศรษฐกิจโดยรวมเป็นไปได้อย่าง
�
ึ
ี
รวดเร็วมากยิ่งขึ้น
3. เป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการเงินกองทุน เนื่องจากการประกันภัยเป็นหนึ่งในธุรกิจสถาบันการเงินจึงมีความจ�าเป็นที่จะต้อง
อยู่ภายใต้กฎและระเบียบของหน่วยงานกากับดูแล (สานักงาน คปภ.) เพ่อสร้างความม่นใจให้แก่ผู้บริโภคและก่อให้เกิดความม่นคงต่อระบบ
ื
�
�
ั
ั
เศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ ดังนั้น ส�านักงาน คปภ. จึงได้ก�าหนดใช้กรอบการประเมินที่เป็นมาตรฐานสากลเพื่อที่จะท�าให้มองเห็นได้ถึงความ
ี
มีเสถียรภาพและความม่นคงทางการเงินของบริษัทประกันภัย กรอบการประเมินท่ว่าน้คือ “กรอบการดารงเงินกองทุนตามระดับความเส่ยง
ี
ี
ั
�
(Risk based capital framework: RBC framework)” ซึ่งถูกแปลให้อยู่ในรูปแบบของอัตราส่วนความเพียงพอของเงินกองทุน หรือ Capital
Adequacy Ratio: CAR (รูปที่ 3) หลักการคือบริษัทประกันภัยจะต้องด�าเนินธุรกิจโดยรักษาระดับเงินกองทุนให้เป็นไปตามเกณฑ์ที่ก�าหนด ซึ่ง
การประกันภัยต่อก็ถือว่าเป็นวิธีหนึ่งที่จะช่วยท�าให้การด�ารงมาตรฐานนี้ของบริษัทเป็นไปได้อย่างมีประสิทธิภาพด้วยเช่นกัน
วารสารประกันภัย เดือนตุลาคม - ธันวาคม 2560 5