Page 7 - InsuranceJournal137
P. 7

เรื่องเด่น



                 ส�าหรับธุรกิจประกันชีวิตในช่วงเวลาเดียวกัน (ปี 2555-2559) ก็มีการท�าประกันภัยต่อเช่นกัน แต่อยู่ในสัดส่วนที่ต�่ากว่ามากหรือโดย
          เฉลี่ยเพียงประมาณ 1.6% ของเบี้ยประกันภัยรับทั้งหมด (รูปที่ 4) สาเหตุหนึ่งเป็นเพราะการรับประกันชีวิตมีสัดส่วนของการออมทรัพย์มากกว่า
          สัดส่วนของการคุ้มครองชีวิต บริษัทประกันชีวิตจะเก็บความเสี่ยงในส่วนการลงทุนเพื่อจะกันผลประโยชน์ด้านการออมทรัพย์ไว้เอง โดยจะนิยม
          เอาประกันภัยต่อเฉพาะในส่วนของความคุ้มครองด้านการเสียชีวิตการเจ็บป่วย และการประกันอุบัติเหตุเป็นส�าคัญ

                                         รูปที่ 4: สัดส่วนการเอาประกันภัยต่อของธุรกิจประกันภัยไทย (%)


                                                                      1.6            เบี้ยเอาประกันภัยต่อ
                                               29.7




                                                                     98.4
                                               70.3                                   เบี้ยประกันภัยรับสุทธิ






                                            ประกันวินาศภัย          ประกันชีวิต

                                           ที่มา: ส�านักงาน คปภ. และการค�านวณของส�านักวิจัยและสถิติ



                 จากสถิติการทาประกันภัยต่อของประเทศไทยแสดงให้เห็นว่า การเอาประกันภัยต่อมีความสาคัญและเป็นท่ต้องการของธุรกิจประกันภัย
                           �
                                                                                 �
                                                                                            ี
          ไม่น้อยเลยทีเดียว โดยเฉพาะอย่างยิ่งในวงการธุรกิจประกันวินาศภัย
                 มาถึงจุดนี้คุณผู้อ่านคงพอจะได้รู้จักและเข้าใจ “การประกันภัยต่อ” กันมากขึ้นแล้วว่าคืออะไร มีประโยชน์อย่างไร แต่หากจะกล่าวถึง
                                                                                                       ่
          ในรายละเอียดของการประกันภัยต่อน้น ยงมีรายละเอียดกนอีกมากเลยทีเดียว ทงในเรองของวิธีการหรือประเภทของสัญญาทหลากหลาย
                                         ั
                                                                                                       ี
                                      ั
                                                                          ื
                                                                      ั
                                                     ั
                                                                      ้
                                                                          ่
                                                                                                         ิ
                                                                                                           ี
                        ื
                    ั
                                                                                 ี
                                                                                                �
                                                         �
          ความแตกต่างท้งในเร่องของหลักการและความเหมาะสมในการการนาไปใช้ ข้อดีข้อเสียหรือประโยชน์ท่แตกต่างกันออกไป จาเป็นอย่างย่งท่จะต้อง
                                                                                                  ้
                                �
                                                                                               ่
           �
                                                                                                    ิ
                 ้
                                                                                               ื
                                                                                          ั
                            ึ
                                                                                        ั
                                                                         ิ
                                                                                            ่
                                                                             ั
                                                                                                              ุ
                          ้
                                                                                                             ู
                      ่
                                          �
                        ึ
                                                                                                            ์
                          ึ
                                                      ื
          ทาความเขาใจอยางลกซงจงจะนาไปใชในการกาหนดกลยทธหรอกาหนดแนวทางในการบรหารจดการการประกนภยตอเพอใหเกดประโยชนสงสด
                                                        �
                                     ้
                                                  ุ
                                                    ์
         ต่อธุรกิจได้ ในครั้งหน้าเราจะค่อย ๆ มาท�าความรู้จักกับการท�าประกันภัยต่อในแต่ละวิธี/ประเภทว่ามีอะไรบ้าง  มีข้อดีและข้อเสียเป็นอย่างไร
         ซึ่งก็จะท�าให้คุณผู้อ่านได้รู้จักและมีความเข้าใจ “การประกันภัยต่อ” มากยิ่งขึ้น
           แหล่ง/หนังสืออ้างอิง
                                                              �
             1.  กรอบการดารงเงินกองทุนตามระดับความเส่ยง. สานักงานคณะกรรมการกากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย
                                               �
                                           ี
                       �
                                                                      �
             2.  ณวดี เรืองรัตนเมธี. ความรู้เบ้องต้นเก่ยวกับการประกันภัยต่อ. สานักงานคณะกรรมการกากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย
                                       ี
                                                       �
                                  ื
             3.  Chandra, S. (2017). Life & Health Insurance: Role of Actuaries and Reinsurers, Aon Benfield.
             4.  CII (2014). P97 Reinsurance Study Text. Diploma in Insurance.
             5.  Munich Re (2010). REINSURANCE: A Basic Guide to Facultative and Treaty Reinsurance,
                                                                     วารสารประกันภัย  เดือนตุลาคม - ธันวาคม  2560  7
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12