Page 6 - InsuranceJournal137
P. 6
เรื่องเด่น
รูปที่ 3: อัตราส่วนความเพียงพอของเงินกองทุน = Capital Adequacy Ratio: CAR (%)
เงินกองทุนที่สามารถน�ามาใช้ได้ทั้งหมด (Total Capital Available: TCA) TCR = ผลรวมของเงินกองทุนส�าหรับความเสี่ยงด้านประกันภัย
ด้านเครดิต ด้านตลาด รวมถึงความเสี่ยงจากการกระจุกตัว
เงินกองทุนที่ต้องด�ารงทั้งหมด (Total Capital Required: TCR) ที่มาจากความเสียงด้านเครดิตและด้านตลาด
4. ได้รับบริการด้านเทคนิค/สนับสนุนบริการด้านต่าง ๆ บริษัทรับประกันภัยต่อสามารถให้การสนับสนุนหรือเป็นแหล่งข้อมูลรวมถึง
ี
ั
ให้บริการด้านต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นการถ่ายทอดองค์ความรู้/เทคนิค ท้งด้านแนวทางพิจารณารับประกันภัย การคิดเบ้ยประกันภัย การบริหาร
ความเส่ยงภัย การบริหารจัดการสินไหมทดแทน การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ รวมถึงการพัฒนาช่องทางหรือนวัตกรรมใหม่ ๆ ร่วมกับบริษัทประกันภัย
ี
ซึ่งก็จะท�าให้บริษัทประกันภัยมีความได้เปรียบและพร้อมที่จะรับมือกับสภาพการแข่งขันที่นับวันจะรุนแรงมากยิ่งขึ้น
การเอาประกันภัยต่อของประเทศไทยเป็นอย่างไร?
ี
ความสาคัญของการประกันภัยต่อได้ถูกสะท้อนจากมุมมองท่เป็นตัวเลขด้วยเช่นกัน จากสถิติการเอาประกันภัยต่อของธุรกิจประกันภัย
�
ี
ี
ี
ี
ไทย พบว่าในช่วง 5 ปีท่ผ่านมา (ปี 2555-2559) ธุรกิจประกันวินาศภัยมีการรับเส่ยงภัยไว้เองคิดเป็นสัดส่วนเฉล่ยของเบ้ยประกันภัยรับสุทธิ (Net
Retention) อยู่ที่ประมาณ 70% ของเบี้ยประกันภัยรับทั้งหมด ที่เหลืออีก 30% เป็นการรับประกันภัยต่อและต่อช่วงจากบริษัทรับประกันภัยต่อ
ภายในประเทศและต่างประเทศ (รูปที่ 4) โดยประเภทธุรกิจที่นิยมเอาประกันภัยต่อมากที่สุด 3 อันดับแรก ก็คือ การประกันภัยความเสี่ยงภัย
ทุกชนิดและการประกันภัยทรัพย์สิน (ประมาณ 80% ของเบี้ยประกันภัยรับทั้งหมด) การประกันภัยความรับผิดตามกฎหมาย (ประมาณ 64%
1
ของเบี้ยประกันภัยรับทั้งหมด) และการประกันภัยทางทะเลและขนส่ง (ประมาณ 47% ของเบี้ยประกันภัยรับทั้งหมด) สาเหตุส�าคัญที่ธุรกิจเลือก
ี
ี
ึ
ี
ท่จะทาประกันภัยต่อสาหรับการประกันภัยประเภทเหล่าน้ ส่วนหน่งเป็นเพราะภัยเหล่าน้โดยส่วนใหญ่ท่รับประกันภัยมาจากภาคธุรกิจ
�
ี
�
อุตสาหกรรม/วิชาชีพมีมูลค่าของทุนเอาประกันภัยอยู่ในระดับค่อนข้างสูง และการคาดการณ์ความเสียหายเป็นไปได้ยากหรือมีความผันผวนของ
ผลการรับประกันภัยในระดับที่สูง
1 ประเภทธุรกิจตามการจัดประเภทธุรกิจแบบใหม่ (ตั้งแต่ปี 2559) ในรายงานสถิติธุรกิจประกันวินาศภัย ส�านักงาน คปภ.
6 วารสารประกันภัย ฉบับที่ 137