Page 27 - InsuranceJournal141
P. 27

รอบรู้ประกันภัย



                 ๔.  เพิ่มบทบัญญัติเกี่ยวกับการฉ้อฉลประกันภัย ซึ่งเป็นบทบัญญัติใหม่เพื่อเป็นการป้องกันและแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการฉ้อฉลที่อาจ
                    จะเกิดขึ้นในธุรกิจประกันนาศภัย
                     ๔.๑ ก�าหนดความรับผิดส�าหรับผู้หลอกลวงผู้อื่นด้วยการชักชวน ชี้ช่อง หรือจัดการให้ผู้นั้นท�าสัญญาประกันภัยกับบริษัท แต่ไม่
                         ได้ด�าเนินการให้มีการท�าสัญญาประกันภัยเกิดขึ้น เป็นการหลอกลวง ปกปิดความจริง (มาตรา ๑๐๘/๓)


                          �
                     ๔.๒ กาหนดความรับผิดของผู้เรียกร้องผลประโยชน์ตามกรมธรรม์ประกันภัยโดยทุจริตหรือแสดงหลักฐานเท็จ (มาตรา ๑๐๘/๔)

                     ๔.๓ ก�าหนดความรับผิดผู้เรียกหรือรับสินบน เพื่อให้มีการชดใช้ค่าสินไหมทดแทน (มาตรา ๑๐๘/๕)



                       ิ
                 ข้อมูลเพ่มเติม สามารถศึกษาได้จากตารางเปรียบเทียบพระราชบัญญัติประกันวินาศภัย พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพ่มเติม (ฉบับปัจจุบัน)
                                                                                                 ิ
          และร่างพระราชบัญญัติประกันวินาศภัย (ฉบับที่ ....) พ.ศ......โดยดาวน์โหลดได้ที่

             https://drive.google.com/file/d/1UELub-lzd5vNStqIMqPkGDaUl_GXwGT3/view?usp=sharing หรือ QR Code นี้


















           ผลต่อธุรกิจประกันวินาศภัย

                 พระราชบัญญัตินี้มีก�าหนดบังคับใช้เมื่อพ้นก�าหนด ๑๘๐ วันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ซึ่งหากมีผลใช้บังคับแล้ว
                                                                                      ี
          น่าจะช่วยในการเสริมสร้างความเช่อม่นและสร้างภาพลักษณ์ท่ดีให้กับธุรกิจประกันวินาศภัยไทย ในขณะท่ก็จะเป็นการช่วยกากับดูแลตัวแทน
                                   ื
                                                       ี
                                     ั
                                                                                                    �
          นายหน้าประกันวินาศภัย รวมถึงผู้ประเมินวินาศภัยอย่างเคร่งครัดและรัดกุมมากขึ้น เนื่องจากมีการก�าหนดโทษที่เพิ่มขึ้น คนกลางประกันภัยจึง
          ต้องตระหนักในการปฏิบัติหน้าที่มากยิ่งขึ้น เพื่อให้เป็นไปตามบทบัญญัติของกฎหมายด้วย
                 ทั้งนี้ การเพิ่มบทบัญญัติเพื่อรองรับการใช้วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ในธุรกิจประกันภัย จะส่งผลให้การน�าเทคโนโลยีมาใช้การเสนอขาย
                                                       ื
                                                         �
          ผลิตภัณฑ์ประกันภัยและการประกอบธุรกิจประกันวินาศภัยเพ่ออานวยความสะดวกให้แก่ผู้บริโภคในการเข้าถึงผลิตภัณฑ์และการบริการด้าน
          การประกันภัยมากขึ้น และส่งผลดีต่อผู้ประกอบการในระยะยาวต่อไปได้
                                          ิ
                                                     ี
                 นอกจากนี้ กฏหมายฉบับน้มีการเพ่มบทบัญญัติเก่ยวกับการฉ้อฉลประกันภัย จึงน่าจะช่วยในการป้องกันและปราบปรามการฉ้อฉล
                                     ี
                                                    ิ
                                   ิ
          ประกันภัยได้อย่างมีประสิทธิภาพย่งข้น อีกท้งการแก้ไขเพ่มเติมกฎหมายดังกล่าวจะส่งผลให้มีมาตรการในการช่วยคุ้มครองสิทธิประโยชน์ของ
                                     ึ
                                          ั
          ประชาชนเพิ่มมากขึ้นอีกด้วย
                      ๒
                 ปัจจุบัน  ร่างพระราชบัญญัติดังกล่าวน้ได้ผ่านการพิจารณาของสภานิติบัญญัติแห่งชาติแล้ว และอยู่ระหว่างการรับฟังความคิดเห็นของ
                                            ี
          ผู้เกี่ยวข้อง ก่อนที่จะผ่านการพิจารณาในขั้นตอนสุดท้ายและประกาศบังคับใช้ต่อไป
          ๒  ๑๘ มกราคม ๒๕๖๒








                                                                        วารสารประกันภัย  ตุลาคม - ธันวาคม  2561  27
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32