Page 24 - InsuranceJournal146
P. 24

รอบรู้ประกันภัย




                                                                                               �
                                                                                                     ั
                                                                                              ู
                                                                             ิ
                                                                                ็
                                                                                                       ิ
                                                                        ความคดเหนของเหล่าบรรดาผ้นาและนกคดเหล่าน  ้ ี
                                                                  มีผลการศึกษาวิเคราะห์และข้อมูลสนับสนุนอย่างล้นหลาม
                                                                  องค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติของสหรัฐ (NASA)
                                                                  หรือท่รู้จักกันในนามขององค์การนาซาเปิดเผยว่า ในช่วงระยะ
                                                                      ี
                                                                                  ี
                                                                  เวลาเพียงไม่ก่สิบปีท่ผ่านมาโลกเราร้อนข้นอย่างรวดเร็ว
                                                                             ี
                                                                                                  ึ
                                                                  อย่างที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน โดยปี พ.ศ. 2559 ถือว่าเป็นปีที่
                                                                         ี
                                                                                                     ี
                                                                  โลกร้อนท่สุดนับจากปี 2423 เป็นต้นมา และ 10 ปีท่บรรยากาศ
                                                                  ของโลกร้อนที่สุด (อ้างอิงจากข้อมูลในอดีต 140 ปี) ก็ยังเกิดขึ้น
                                                                  ในช่วงหลังจากปี พ.ศ. 2548 อีกด้วย (ดังแสดงในรูปที่ 3)
                     รูปที่ 3: Earth’s Climate is Warming
                  ที่มา: https://climate.nasa.gov/scientific-consensus/

                นอกจากข้อมูลสถิติที่บ่งชี้ว่าโลกเราร้อนขึ้นแล้ว สภาพการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับสิ่งที่อยู่รอบ ๆ ตัวเราก็ยังเป็นเครื่องบ่งชี้อย่างชัดเจน
          ถึงการที่สภาพภูมิอากาศของโลกเปลี่ยนไปในทิศทางที่ร้อนขึ้นด้วยเช่นกัน เช่น อุณหภูมิของชั้นบรรยากาศที่อยู่เหนือพื้นผิวโลก 5 ถึง 10 ไมล์
                                                           ้
                                    ้
                            ิ
                                                                       ื
                                                  ึ
                                                           �
                                                                ี
          (Troposphere) ก็ปรับเพ่มข้น ผิวนาในมหาสมุทรอุ่นข้น หิมะและนาแข็งท่ปกคลุมพ้นผิวโลกมีปริมาณลดลง ระดับความช้นในช้นบรรยากาศ
                               ึ
                                                                                                      ั
                                    �
                                                                                                  ื
                            ั
                                       ี
                                                                                                         ั
                                                                 ึ
                                                                                                  ื
                                                                                                    ี
                                                   �
                                                   ้
                                                                                                              ิ
                                                               ี
                  ึ
            ิ
          ก็เพ่มมากข้น โดยเฉพาะช้นบรรยากาศท่ไม่สูงนัก ระดับนาทะเลมีระดับท่สูงข้น ฤดูร้อนมีความยาวนานกว่าปรกติในบางพ้นท่ และท่วโลกเร่ม
          เผชิญกับภาวะเหตุการณ์ที่มีสภาพอากาศร้อนจัดและฝนตกหนักบ่อยครั้งขึ้น เป็นต้น
                                               ี
                                               ่
                                         �
                                           ั
                    ่
                                                       ิ
                          ู
                    ี
                การทสภาพภมอากาศของโลกกาลงเปลยนไปในทศทาง
                            ิ
          ดังกล่าว มีหลักฐานทางวิทยาศาสตร์บ่งชี้ว่าเกิดขึ้นมาจากน�้ามือมนุษย์
                                                 ี
                       ี
                        ิ
           ิ
                   ิ
                                    ิ
          มใช่เป็นอิทธพลท่เกดจากธรรมชาต เช่น การแผ่รังสความร้อนจาก
          ดวงอาทิตย์ (Solar forcing) และ การปะทุของภูเขาไฟ (Volcanoes)
          เป็นต้น การกระท�าของมนุษย์ที่ถูกกล่าวหานี้คือ การเผาไหม้เชื้อเพลิง
          ประเภทต่าง ๆ (ถ่านหิน น�ามัน และก๊าซธรรมชาติ) และการตัดไม้
                              ้
           �
                            ั
                  ึ
          ทาลายป่า ซ่งการเผาไหม้น้นจะก่อให้เกิดก๊าซหลายชนิด (เช่น CO , CH 4
                                                       2
                              ุ
          และ N O เป็นต้น) และอนภาค (Black Carbon/Soot) ทจะเป็น
                                                      ี
                                                      ่
               2
                        ั
          ตัวดักความร้อนในช้นบรรยากาศของโลกอย่างดี ผลการวิเคราะห์ท่ได้
                                                          ี
          จากการจาลองของ Markus Huber และ Reto Knutti จาก ETH
                �
          Zurich Institute for Atmospheric and Climate Science
                                               ั
          แสดงให้เห็นว่า อิทธิพลจากปัจจัยท่เกิดข้นจากมนุษย์น้นสามารถอธิบาย   รูปที่ 4: Separating Human and Natural
                                  ี
                                      ึ
          แนวโน้มของการเปล่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศท่เกิดข้นในช่วง 50 ปี       Influences on Climate
                        ี
                                              ี
                                                  ึ
          ที่ผ่านมาได้อย่างใกล้เคียง (ดังแสดงในรูปที่ 4)       ที่มา: Huber and Khutti, 2011, Antropogenic and Natural Warming
                                                                     Inferred from Changes in Earth’s Energy Balance
                รายงานของ McKinsey Global Institute ที่ชื่อ Climate risk and response: Physical hazards and socioeconomic impacts
                       ื
                                           ่
                                                                                           ี
           ี
                                           ี
                               ี
                          ็
                                                               ั
                                                                                                   �
             ิ
                                                                                       ี
                                                  ิ
          ท่เพ่งเผยแพร่ไปเม่อเรว ๆ น้ระบุชัดว่า การทสภาพภูมอากาศของโลกน้นร้อนข้นอย่างรวดเร็วในช่วงไม่ก่สิบปีท่ผ่านมา ทาให้ปรากฏการณ์
                                                                    ึ
                                                       ้
          ประเภทต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น คล่นความร้อน (Heat waves) และนาท่วม เกิดบ่อยครั้งขึ้นและมีความรุนแรงมากย่งข้น นอกจากน้แล้วภัยธรรมชาต ิ
                               ื
                                                                                                   ี
                                                                                        ิ
                                                       �
                                                                                          ึ
          ที่เกิดขึ้นอยู่เป็นประจ�า เช่น ภัยแล้งรวมถึงการเพิ่มขึ้นของระดับน�้าทะเล เป็นต้น ก็จะมีความหนักหน่วงมากยิ่งขึ้น ซึ่งปรากฏการณ์ลักษณะเช่นนี้
          จะมีผลกระทบโดยตรงต่อสภาพเศรษฐกิจและสังคมของมนุษยชาติในเรื่องของสภาพความเป็นอยู่ แหล่งอาหาร ทรัพย์สินและการให้บริการของ
          ระบบโครงสร้างสาธารณูปโภคต่าง ๆ ตลอดจนถึงทุนธรรมชาติหรือทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
         24          วารสารประกันภัย ฉบับที่ 146
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29