Page 26 - InsuranceJournal146
P. 26
รอบรู้ประกันภัย
พลิกโฉมธุรกิจประกันกับ IFRS17
พลิกโฉมธุรกิจประกันกับ IFRS17
(ตอนที่ 3)
(ตอนที่ 3)
โดย ทอมมี่ (พิเชฐ เจียรมณีทวีสิน)
นายกสมาคมนักคณิตศาสตร์ประกันภัยแห่งประเทศไทย
และ กรรมการผู้จัดการบริษัท แอคชัวเรียล บิสซิเนส โซลูชั่น จ�ากัด (ABS)
พลิกโฉมธุรกิจประกันกับ IFRS17 ตอนที่ 3 นี้ผมขอน�าทุกท่านไปดูวิธีการค�านวณมูลค่าประเมินหนี้สินของสัญญาประกันภัย IFRS17
ส่วนประเด็นที่ว่ามี IFRS17 แล้วต้องมี RBC อีกหรือไม่? และความเกี่ยวข้องของ IFRS17 กับ RBC และ VoNB/VIF ที่ตอนแรกคิดว่าจะลงให้จบ
ในฉบับนี้ ต้องขออนุญาตต่อตอนจบกันในฉบับหน้านะครับ...
วิธีการคำานวณมูลค่าประเมินหนี้สินของสัญญาประกันภัย IFRS17
มาตรฐานรายงานทางการเงิน IFRS17 นี้ ได้ก�าหนดแบบจ�าลองในการค�านวณมูลค่าหนี้สินของสัญญาประกันภัยอยู่ 3 แบบ
1. General Model (GM) เป็นวิธีพื้นฐานที่นิยมใช้กันมากที่สุด ซึ่งถอดแบบมาว่าวิธีการ Building Block Approach (BBA) โดยแบ่งเป็น
กระแสเงินสดเพื่อภาระผูกพันกรมธรรม์ (Fulfilment Cash flows) ที่มี Risk Adjustment อยู่ในนั้น และตบท้ายด้วย Contractual Service
Margin (CSM)
2. Premium Allocation Approach (PAA) เป็นวิธีที่มองคล้าย ๆ กับ Unearned Premium Reserve (UPR) ส่วนใหญ่จะใช้กับสัญญา
เพิ่มเติมของบริษัทประกันชีวิต และแบบประกันของบริษัทประกันวินาศภัย
�
ี
ี
3. Variable Fee Approach (VFA) เป็นวิธีเฉพาะท่ใช้สาหรับแบบประกันท่มีส่วนร่วมในเงินปันผล หรือ Universal Life หรือ Unit Linked
ที่เข้าเงื่อนไขตามที่ก�าหนด ซึ่งในประเทศไทยนั้นมีเพียงเฉพาะ Unit Linked เท่านั้นที่ตรงตามเงื่อนไขและใช้วิธีนี้ได้
ในสมัยแรกเร่มท่มีการร่างมาตรฐานของ IFRS17 กัน จะมีวิธีการท่เรียกว่า Building Block Approach (BBA) ท่เป็นการแบ่ง
ี
ิ
ี
ี
ส่วนประกอบต่าง ๆ ทีละบล็อก จนมาตอนหลังถูกตั้งเป็นวิธีมาตรฐานทั่วไปและเรียกชื่อใหม่ว่า General Model (GM) ซึ่งสามารถน�าไปใช้ได้กับ
แบบประกันทั่วไปครอบจักรวาล
General Model (GM) แบ่งส่วนประกอบต่าง ๆ ออกได้เป็น 2 ส่วนหลัก ๆ คือ
1. Fulfilment Cash Flows (กระแสเงินสดเพื่อภาระผูกพันกรมธรรม์) เปรียบเสมือนต้นทุนของสัญญาประกันภัยที่มีภาระผูกพันต้องจ่าย
กระแสเงินสดเฉลี่ยออกไปในแต่ละระยะเวลาในอนาคต โดยมีขั้นตอนง่าย ๆ ในการค�านวณ ดังนี้
a. ประมาณการกระแสเงินสด Future Cash Flows จากสมมติฐานทางคณิตศาสตร์ประกันภัยโดยใช้การประมาณการท่ดีท่สุด
ี
ี
(Best Estimate Assumption) ไม่ว่าจะเป็น อตราการเจ็บป่วย อตราการเกิดเหตการณ์ต่าง ๆ อตราการขาดอายกรมธรรม์
ั
ั
ุ
ั
ุ
(ถ้ามี ส�าหรับสัญญาระยะยาว) และค่าใช้จ่าย เป็นต้น
ึ
ื
ี
�
b. เติมส่วนของ Risk Adjustment for Non-Financial Risk เข้าไป เพ่อสะท้อนถึงความเส่ยงท่อาจเกิดข้นและทาให้ผันผวน
ี
(Deviate) ไปจากการประมาณการที่ดีที่สุด (Best Estimate Assumption) ซึ่งการค�านวณนี้เราจะเผื่อค่าความผันผวนในเชิงที่
�
ี
ั
ทาให้มีผลลัพธ์ออกมาม่นใจว่าจะสามารถมีกระแสเงินสดเฉล่ยออกมาจ่ายตามภาระผูกพันแม้ในวันท่จะมีความผันผวนก็ตาม
ี
ท�าให้หลักการนี้คล้ายกับของ Risk Based Capital (RBC) ที่จะต้องมีการตั้ง Provision Adverse Deviation (PAD) ที่หลายคน
ี
คุ้นเคยกันดี โดยตัวอย่างของสมมติฐานท่เป็น Non-Financial Risk ท่ต้องต้งเผ่อก็จะมี อัตราการเจ็บป่วย อัตราการเกิดเหตุการณ์
ี
ื
ั
ต่าง ๆ อัตราการขาดอายุกรมธรรม์ (ถ้ามี ส�าหรับสัญญาระยะยาว) ค่าใช้จ่าย เป็นต้น
26 วารสารประกันภัย ฉบับที่ 146