Page 28 - InsuranceJournal146
P. 28

รอบรู้ประกันภัย


                                          ี
                                  ่
                                           ี
                                          ่
                        ่
                   b.  แตถาเปนการเปลียนแปลงทเกยวของกบบรการในอนาคตแลว สวนใหญจะนากลบไปสมทบ/หกออกจาก Contractual Service
                           ็
                         ้
                                           ่
                                                                           �
                                                                        ่
                                                                                        ั
                                                                              ั
                                                                   ่
                                                 ั
                                              ้
                                                                ้
                                                    ิ
                     Margin (CSM) หรือในกรณีที่ขาดทุนจนกระทั่งหัก Contractual Service Margin (CSM) ออกไปหมดแล้วก็ยังไม่พอ ก็จะต้อง
                     น�าส่วนที่เหลือ (ที่ยังหักไม่หมด) ไปกระทบลงงบก�าไรขาดทุน เพราะนั่นหมายถึงว่าสัญญาประกันภัยเกิด Onerous ขึ้นมาแล้ว
                     และต้องบันทึกเป็นขาดทุนและรับรู้ในงบก�าไรขาดทุนในทันที
                3. อัตราคิดลด (Discount rate) ในมาตรฐาน IFRS17 นี้ มีความตั้งใจที่จะให้แบ่งออกมาสะท้อนอัตราดอกเบี้ยที่ปราศจากความเสี่ยง
                                       ี
                                                                                               ึ
                                     ี
         (Risk Free Rate) และอัตราดอกเบ้ยท่ชดเชยการขาดสภาพคล่องจากสัญญาประกันภัย (Illiquidity Premium) ซ่งวิธีการหาอัตราคิดลด
          (Discount rate) นี้ สามารถใช้วิธี Top-Down Approach หรือ Bottom-Up Approach ได้
                   a.  วิธี Top-Down Approach สามารถหาได้จากการน�าผลตอบแทนจากการลงทุนของพอร์ต (Portfolio Yield) มาหักออกด้วย
                     อัตราดอกเบี้ยส่วนที่ชดเชยความเสี่ยงด้านเครดิต (Credit Risk) ซึ่งแปลว่า Discount rate = Portfolio Yield – Credit Risk
                   b.  วิธี Bottom-Up Approach สามารถหาได้จากการน�าอัตราดอกเบี้ยที่ปราศจากความเสี่ยง (Risk Free Rate) มาบวกกับอัตรา
                     ดอกเบี้ยที่ชดเชยการขาดสภาพคล่องจากสัญญาประกันภัย (Illiquidity Premium) ได้โดยตรง ซึ่งแปลว่า Discount rate =
                     Risk Free Rate + Liquidity Risk
                           PORTFOLIO YIELD = RISK FREE RATE + LIQUIDITY RISK + CREDIT RISK
                อีกประเด็นหนึ่งที่มาตรฐาน IFRS17 ได้เล็งเห็นความส�าคัญและพัฒนาเพิ่มเติมมาจาก IFRS4 คือ เรื่องการพยายามท�าให้สัญญาประกันภัยที่
                                                                                         �
                                                                     ึ
                                               �
          มีการประมาณการกระแสเงินสดเหมือนกันสามารถคานวณออกมามีมูลค่าเท่ากัน ซ่งภายใต้ IFRS4 ในปัจจุบันน้ทาไม่ได้ เพราะ IFRS4 ไปใช้อัตรา
                                                                                        ี
          ผลตอบแทนจากการลงทุนของบริษัทตัวเองมาใช้เป็นอัตราคิดลดด้วย ท�าให้เกิดความเหลื่อมล�้าทางการลงบัญชีขึ้น
                                                     ื
                               ี
                มาตรฐาน IFRS17 น้ยังสามารถแบ่งกระแสเงินสดเพ่อภาระผูกพันของกรมธรรม์ (Fulfilment Cash Flows) ออกมาเป็น แบบท่แปรผัน
                                                                                                          ี
                                                                                          ี
          ต่อตัวแปรท่ได้รับผลกระทบจากความเส่ยงทางด้านการเงิน (Varying fulfilment cashflows) กับอีกแบบท่ไม่ได้แปรผันต่อตัวแปรท่ได้รับ
                  ี
                                                                                                            ี
                                       ี
                                      ิ
          ผลกระทบจากความเสยงทางด้านการเงน (Non-varying fulfilment cashflows) เช่น กระแสเงนสดทวไปอย่างการจ่ายทนประกนภยของ
                                                                                      ั
                                                                                      ่
                                                                                                    ุ
                                                                                                           ั
                                                                                                         ั
                          ี
                          ่
                                                                                 ิ
                                                                 ึ
                                                                                ี
                                                                                                     ี
                                                                                         ี
                                                                                               ื
                   ั
          แบบประกันท่วไป หรือ การจ่ายค่ารักษาพยาบาลจากประกันสุขภาพ เป็นต้น ซ่งกระแสเงินสดเหล่าน้ไม่ได้มีค่าเปล่ยนไปเม่อความเส่ยงหรือตัวแปร
          ทางด้านการเงินเปลี่ยนไป
                โดยหลักการแล้ว Varying fulfilment cashflows และ Non-varying fulfilment cashflows จะใช้อัตราคิดลดคนละตัวกันได้ เพื่อ
          ให้สะท้อนชนิดของกระแสเงินสดนั้น โดย Non-varying fulfilment cashflows นั้นจะใช้เพียงแค่อัตราดอกเบี้ยที่ปราศจากความเสี่ยง (Risk
          Free Rate) ส่วน Varying fulfilment cashflows จะใช้อัตราดอกเบี้ยที่สูงกว่าเพราะรวมความเสี่ยงทางด้านการเงินเข้าไปด้วย
                ทั้งน้ ถ้าไม่อยากใช้อัตราคิดลดท่แยกออกจากกันแบบน้ มาตรฐาน IFRS17 ก็ยอมให้ใช้กระแสเงินสดชุดเดียวและอัตราคิดลดแบบ
                                                         ี
                                        ี
                    ี
          risk-neutral ได้เช่นกัน
                  ่
                  ื
                เมอทราบข้นตอนในการหาอัตราคิดลด (Discount rate) แล้ว ทน้ก็ลองมาพิจารณาการนาผลลัพธ์ไปประยุกต์บ้าง โดยเราสามารถ
                        ั
                                                                                  �
                                                                 ี
                                                                ี
          พิจารณาผลตอบแทนจากดอกเบี้ยออกเป็น 2 ส่วนได้ ดังนี้
                                 ี
                a. ส่วนที่เป็นดอกเบ้ยท่ต้งเป้าว่าจะลงทุนได้เพ่อจ่ายภาระผูกพันของกรมธรรม์ (Insurance Finance Expense at locked in discount
                                                 ื
                                  ั
                               ี
                         ึ
                                                      �
                                                                      �
                                ี
                   rate) ซ่งเป็นตัวท่นักคณิตศาสตร์ประกันภัยจะกาหนดไว้เสมอว่าเงินสารองกรมธรรม์จะมีการเติบโตข้นจากดอกเบี้ย (unwind)
                                                                                             ึ
                   เป็นเท่าไรต่อปี และโดยปกติแล้วค่าอัตราดอกเบ้ยน้จะถูกคานวณไว้ต้งแต่ตอนออกแบบประกันภัยไว้แต่แรกแล้ว บางคร้งในมาตรฐาน
                                                                                                      ั
                                                                   ั
                                                            �
                                                     ี
                                                       ี
                   IFRS4 เราเรียกมันว่า Valuation Interest rate หรือบางคนอาจจะเรียกมันว่า Target Profit Rate ก็ไม่ผิดนัก เพราะมันคือ
                                                                                                       �
                               ี
                                �
                                                                  ั
                                               ี
                   อัตราดอกเบ้ยท่กาหนดเอาไว้ในตอนท่ออกแบบประกันภัยและต้งใจไว้ว่าแบบประกันนี้จะต้องลงทุนให้ได้จึงจะได้กาไรเท่ากับท  ่ ี
                            ี
                   คาดหวังไว้ โดยดอกเบี้ยส่วนนี้ถือเป็นการด�าเนินงานอย่างหนึ่งของธุรกิจประกันภัยที่ต้องท�าให้เงินเติบโตตามที่คาดหมายไว้
         28          วารสารประกันภัย ฉบับที่ 146
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33