Page 30 - InsuranceJournal146
P. 30

รอบรู้ประกันภัย



                                         ตอนที่เริ่มคำานวณและทำาครั้งแรกต้องทำาอย่างไร?


                หลายคนคงสงสัยว่าในเมื่อหลักการของมาตรฐานใหม่มันเปลี่ยนไปมากอย่างนี้แล้ว ในวันแรกที่ต้องน�ามาตรฐาน IFRS17 มาปฏิบัติใช้
          นั้นจะต้องท�าอย่างไร ค�านวณมาอย่างไร โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับเรื่อง Contractual Service Margin (CSM) ที่ต้องฝังไปกับกรมธรรม์แต่ละตัวนั้น
          จะท�าอย่างไร


                ในเมื่อบริษัทประกันภัยได้ขายกรมธรรม์ไปแล้ว อยู่ดี ๆ เราจะประเมินมูลค่าสัญญาประกันภัยพร้อมกับ Contractual Service Margin

                                                                             ิ
                                                                            ี
                   ั
                                                                                                        ี
                                                                 ึ
                                                                   ั
          (CSM) ท่ว่าน้นภายใต้มาตรฐานใหม่ได้ ก็ควรจะมองย้อนเวลากลับไปเสมือนหน่งต้งแต่วันแรกท่เร่มขายแล้วหมุนเวลากลับมาเป็นตอนน้ว่าประเมิน
                ี
          เป็นมูลค่าได้เท่าไร
                          ี
                                                                            ึ
                วิธีการแรกน้เรียกว่า Full Retrospective Approach (ย้อนเวลากลับไป) ซ่งในทางปฏิบัติแล้ว เราคงไม่ได้เก็บข้อมูลย้อนหลัง
                 ั
                                                                   ี
                                �
                            ี
          เอาไว้ได้ท้งหมด วิธีการน้จึงนามาปฏิบัติได้ยากมาก ซึ่งมาตรฐาน IFRS17 น้สามารถยอมให้ใช้วิธีการประมาณการจากอดีตโดยใช้ตัวแปร
          ประมาณการ (ไม่ต้องเก็บข้อมูลจริง) มาได้ วิธีที่สองนี้เรียกว่า Modified Retrospective Approach บางครั้งก็จะใช้วิธีการประมาณการ
          จากอดีตโดยใช้ตัวแปรประมาณการเอา จึงเหมือนกับเป็นการ Modified จากวิธี Full Retrospective Approach อย่างหนึ่ง
                                                                            �
                ข่าวดีก็คือ ถ้าเราไม่อยากใช้วิธีการ Full Retrospective Approach ก็สามารถทาได้ด้วยวิธีการมองไปข้างหน้าแบบ Prospective
          วิธีการที่สามนี้จะเรียกว่า Fair Value Approach ซึ่งท�าได้โดยการค�านวณหา Contractual Service Margin (CSM) มาจากมูลค่ายุติธรรม
                                                                            ื
          (Fair Value) หักออกด้วย มูลค่าปัจจุบันของ Fulfilment Cash Flows (กระแสเงินสดเพ่อภาระผูกพันของกรมธรรม์) ท้งน้ สามารถศึกษา
                                                                                                  ั
                                                                                                    ี
          รายละเอียดได้จากวิธีการค�านวณแบบ General Model (GM) ของ IFRS17 ที่ได้กล่าวมาข้างต้น
                                                                                                              ั
                                                                                      �
                                                                      ั
                                                            ี
                                                               ึ
                                       ั
                                                                                     ี
                                                                                                       ั
                           ิ
                             �
                อนึ่ง การท่จะเร่มนาอะไรมาใช้คร้งแรก และจะมีหลายรายการท่เกิดข้นเพียงคร้งเดียวเฉพาะในตอนท่นามาใช้ (Implement) คร้งแรกเท่าน้น
                        ี
                                                           ิ
                                                                                ี
                                                             ิ
                                                                                               ั
                                                                                                       �
                                                                                     �
                                                                                               ้
                                                                                        ั
                                                                      ั
                                               ้
                                 ี
                                          ้
                               ึ
                               ้
                                      �
                          ี
          เรียกว่าเป็น One Off ท่ไม่เกิดขนอก ไม่จาเป็นตองใส่เขาไปในระบบปฏบัตการของบริษทประกันภัย เพยงแค่ทาคร้งเดียวครงแรกตอนทา transition
          เท่านั้น ในการจัดการโครงการ บ่อยครั้งเราจะเรียกมันว่า “โครงการของโครงการ (project of project)” ด้วยซ�้า และส่วนใหญ่เราจะมาท�า
          หลังสุด หลังจากที่ลงระบบทุกอย่างเรียบร้อยเกือบหมดแล้ว
                                                   สิ่งน่ากลัวที่ไม่ควรมองข้าม
                ในมาตรฐานใหม่นี้ มีจุดหนึ่งที่ไม่เหมือนเดิม คือไม่มี Balancing items หรือช่องที่เรียกว่า “อื่น ๆ (Others)” ในหมายเหตุประกอบงบ
                    ี
                       ่
                                                                                ็
                                                                                 ั
                                                                                   ่
                                                                                      ็
                                                                                                    ้
                                                                                                   ่
                                                                                                          ั
                                                                                                       �
          (Disclosure) อกตอไป แสดงวาเวลาทคานวณแลวไดตวเลขไมลงตว กจะไมมชองใหหยอดลง ซงนนกนบวาเปนปญหาใหญอยไมนอยสาหรบคนใน
                                                                                               ่
                                                                                        ั
                                                                                                 ่
                                                                                                 ู
                                                                              ั
                                                                ่
                                                               ี
                                                              ่
                                                                    ้
                                    ่
                                     �
                                                        ั
                                                     ่
                                                ั
                                            ้
                                               ้
                                                          ็
                                                                            ึ
                                                                            ่
                                                                              ่
                               ่
                                    ี
                              ี
                                                                           ี
          ระดับปฏิบัติงาน เพราะใครท่เคยคานวณและกระทบยอดจะรู้ดีว่ามันอาจจะมีความแตกต่างท่ไม่กระทบยอดอยู่บ้าง แม้ว่าค่าท่แตกต่างมันจะเป็น
                                                                                                  ี
                                  �
          0.1% ก็ตาม
                ทั้งนี้ เราคงต้องรอลุ้นกันต่อไปว่า ถ้ามันกระทบยอดไม่ได้จริง ๆ แล้วมันจะไปใส่ลงในที่ไหน ทางที่ดีก็ควรปรึกษาหรือแจ้งผู้สอบบัญชีให้
          แต่เนิ่น ๆ ก่อนส�าหรับเรื่องนี้ครับ
         30          วารสารประกันภัย ฉบับที่ 146
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35