Page 6 - InsuranceJournal148
P. 6
ื
เร่องเด่น
ี
ื
ิ
ิ
ึ
�
รับงาน เพ่มมาตรฐานในการรับประกันภัยให้สูงข้น และเพ่มอัตราเบ้ยประกันภัย เพ่อให้เกิดกาไรและการสะสมของเงินกองทุนในอนาคต ซ่งการปรับ
ึ
ตัวไปสู่จุดดังกล่าวก่อให้เกิดวัฏจักรของการประกันภัยดังท่ได้กล่าวมาข้างต้นอีกคร้ง ั
ี
ึ
ในช่วงท่มีการแข่งขันกันอย่างรุนแรงซ่งอัตราเบ้ยประกันภัยจะอยู่ในระดับคงท่หรือมีการปรับลดลง ประกันภัยสามารถหาซ้อได้ง่าย และมาตรฐาน
ี
ี
ื
ี
ี
ึ
ี
ิ
ในการรับประกันภัยไม่เข้มงวดมากนัก เรียกว่าเป็นช่วงท่ตลาดอ่อนตัว หรือ Soft Market และในทางตรงกันข้าม ช่วงเวลาท่มีการเพ่มข้นของอัตรา
ี
เบ้ยประกันภัยและความเข้มงวดในมาตรฐานการรับประกันภัย จะเรียกว่าเป็นช่วงท่ตลาดแข็งตัว หรือ Hard Market
ี
ี
�
่
ปัจจัยหลักท่ทาให้เกิดสภาวะ Hard Market มีดังน้ 1) การเกิดมหันตภัย 2) การแข่งขันท่รุนแรง 3) อัตราดอกเบ้ยในระดับตา 4) ต้นทุน
ี
�
ี
ี
ึ
ี
ี
ึ
ิ
ค่าสินไหมทดแทนท่เพ่มข้น และ 5) ต้นทุนการประกันภัยต่อท่เพ่มข้น
ิ
ิ
การเกดมหันตภย (Catastrophe)
ั
ี
มหันตภัย หมายถึง เหตุการณ์ท่ก่อให้เกิดความเสียหายขนาดใหญ่
ซ่งในต่างประเทศได้มีการกาหนดเกณฑ์ในการจัดเหตุการณ์ว่าเป็นมหันตภัยไว ้
�
ึ
หากเหตุการณ์ดังกล่าวส่งผลทาให้บริษัทประกันภัยมีการจ่ายค่าสินไหม
�
ึ
ทดแทนต้งแต่ 25 ล้านเหรียญสหรัฐข้นไป
ั
มหันตภัยมักจะเกิดจากภัยธรรมชาติ ซ่งโดยท่วไปแล้วมักเกิดจาก
ั
ึ
ลมพายุ นาท่วม แผ่นดินไหว และไฟป่า อย่างไรก็ตาม มหันตภัยยังอาจ
�
้
�
ึ
้
เกิดจากนามือของมนุษย์ได้เช่นกัน ดังกรณีของเหตุการณ์ 911 ซ่งเป็น
ึ
เหตุการณ์ก่อการร้ายคร้งใหญ่ท่สุดซ่งทาให้มีการจ่ายค่าสินไหมทดแทน
ั
ี
�
ท่มีมูลค่าติดอันดับ Top Ten ของธุรกิจประกันวินาศภัยเลยทีเดียว
ี
�
ั
ื
่
ั
้
ี
เนองจากการคานวณอตราเบยประกนภยโดยทวไปนนเป็นการ
ั
่
้
ั
ั
ื
คานวณโดยใช้ข้อมูลและสถิติบนพ้นฐานของการเกิดความเสียหายในกรณ ี
�
ปรกติท่วไป การเกิดมหันตภัยหรือการเกิดเหตุการณ์ท่ทาให้เกิดความเสียหาย
ั
�
ี
ั
�
�
ื
ึ
�
ี
ี
ี
ี
�
สะสมมูลค่าท่สูงอย่างต่อเน่อง จะทาให้เบ้ยประกันภัยท่ได้คานวณไว้ก่อนหน้าน้นไม่เพียงพอสาหรับการจ่ายค่าสินไหมทดแทนท่เกิดข้น และทาให้
ื
ึ
บริษัทประกันภัยต้องมีการปรับอัตราเบ้ยประกันภัยข้นเพ่อให้สะท้อนถึงความเส่ยงท่เพ่มสูงข้น
ี
ึ
ี
ิ
ี
ื
ั
ี
หากพิจารณาสถิติย้อนหลัง 3 ปีท่ผ่านมาจะเห็นได้ว่า ธุรกิจประกันวินาศภัยท่วโลกต้องเผชิญกับมหันตภัยอย่างรุนแรงและต่อเน่อง โดยใน
ึ
ั
�
ปี 2017 มีมหันตภัยจากภัยธรรมชาติเกิดข้น 399 คร้ง ส่งผลทาให้บริษัทประกันภัยต้องจ่ายค่าสินไหมทดแทนกว่า 157,000 ล้านเหรียญสหรัฐ ใน
ขณะท่ปี 2018 น้นเกิดข้น 415 คร้ง มีค่าสินไหมทดแทนกว่า 100,000 ล้านเหรียญสหรัฐ และในปี 2019 ท่ผ่านมาเกิดข้น 409 คร้ง ส่งผลให้บริษัท
ั
ึ
ั
ั
ี
ึ
ี
ประกันภัยท่วโลกจ่ายค่าสินไหมทดแทนกว่า 71,000 ล้านเหรียญสหรัฐ
ั
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ในปีน้ นับเป็นอีกเหตุการณ์มหันตภัยท่คาดว่าจะก่อให้เกิดการจ่ายค่าสินไหมทดแทนจานวน
�
ี
ี
ั
มหาศาล โดย Lloyd’s of London คาดการณ์ว่าธุรกิจประกันวินาศภัยท่วโลกอาจจะต้องจ่ายค่าสินไหมทดแทนสูงถึง 107,000 ล้านเหรียญสหรัฐ
ึ
ซ่งการจ่ายค่าสินไหมทดแทนดังกล่าวจะมาจากการรับประกันภัยการเดินทาง ประกันภัยสาหรับผู้จัดงาน ประกันภัยเงินทดแทนแรงงาน ประกันภัย
�
ื
สินเช่อทางการค้า และประกันภัยธุรกิจหยุดชะงักเป็นหลัก
ั
การแข่งขนทรุนแรง (Intense Competition)
ี
่
ิ
วธการทใชในการแขงขนเพอใหไดมาซงเบยประกนภยทงายทสดกคอ
ี
ั
ื
ี
่
ั
ั
ึ
้
้
้
่
่
ื
็
ุ
ี
่
้
ี
่
่
ี
่
การใช้สงครามราคา การตัดราคา ซ่งก็คือการปรับลดอัตราเบ้ยประกันภัย
ี
ึ
ื
�
ี
จะทาให้เบ้ยประกันภยมีราคาถูก ก่อให้เกดแรงจูงใจในการซ้อประกันภย
ั
ั
ิ
ี
กับบริษัทท่ใช้กลยุทธ์การตัดราคา ส่งผลให้บริษัทประกันภัยน้นได้รับ
ั
ึ
�
ิ
เบ้ยประกันภัยเพ่มข้นและอาจทาให้ส่วนแบ่งตลาดเพ่มสูงข้นด้วย
ี
ิ
ึ
�
ั
อย่างไรก็ตาม การกาหนดอัตราเบ้ยประกันภัยท่เหมาะสมน้นควร
ี
ี
ั
ต้องสอดคล้องกบความเสยงทรบมา การลดอตราเบยประกนภยอาจทาให้
ี
ี
้
ั
�
ั
ั
ี
่
่
ั
ี
ี
เบ้ยประกันภัยไม่ได้สะท้อนถึงความเส่ยงท่แท้จริง และไม่เพียงพอกับ
ี
6 วารสารประกันภัย ฉบับที่ 148