Page 7 - InsuranceJournal148
P. 7
ื
เร่องเด่น
การจ่ายค่าสินไหมทดแทนขนาดใหญ่ท่อาจจะเกิดข้นในอนาคต บริษัทจึงอาจจะประสบกับภาวะขาดทุนได้หากต้องจ่ายค่าสินไหมทดแทนสาหรับ
�
ึ
ี
ี
ความเสียหายขนาดใหญ่หรือความเสียหายสะสมอย่างต่อเน่อง ซ่งจะส่งผลทาให้เงินกองทุนท่มีอยู่จะร่อยหรอลงไปและไม่เพียงพอท่จะรองรับงานใหม่ ๆ
ี
ึ
ื
�
ั
ึ
ได้ ภาวะดังกล่าวจะก่อให้เกิดการปรับตัวเข้าสู่ขาข้นของวัฏจักรประกันภัยซ่งก็คือการเข้าสู่ Hard Market น่นเอง
ึ
ี
ื
ั
ึ
ึ
ในส่วนของ Commercial Insurance โดยรวมน้นได้มีการปรับอัตราเบ้ยประกันภัยข้นต้งแต่ไตรมาส 4 ของปี 2560 และปรับข้นอย่างต่อเน่อง
ั
ี
ิ
มา 12 ไตรมาสติดต่อกันจนถึงไตรมาส 3 ของปีน้ ซ่งมีอัตราการปรับเพ่มเบ้ยประกันภัยอยู่ท่ 20% อย่างไรก็ตาม การเปล่ยนแปลงของอัตรา
ี
ึ
ี
ี
ี
เบ้ยประกันภัยสาหรับประกันภัยแต่ละประเภทจะแตกต่างกัน โดยอัตราเบ้ยประกันภัยความรับผิดทางวิชาชีพและประกันภัยทางการเงินมีการ
�
ี
ี
ปรับเพ่มข้นถึง 40% ในขณะท่อัตราเบ้ยประกันภัยทรัพย์สินเพ่มสูงข้น 21% และประกันภัยเบ็ดเตล็ดปรับข้น 6% โดยเฉล่ย
ี
ึ
ิ
ึ
ิ
ี
ึ
ี
ี
การปรับอัตราเบ้ยประกันภัยในแต่ละภูมิภาคก็มีความแตกต่างกัน โดยอัตราเบ้ยประกันภัยในประเทศอังกฤษมีการปรับเพ่มข้นถึง 34% โซนแปซิฟิก
ิ
ึ
ั
ึ
ปรับเพ่มข้น 33% ส่วนในสหรัฐอเมริกาน้นมีอัตราการเพ่มอยู่ท่ 18% ยุโรป 15% เอเชีย 12% และในกลุ่มประเทศละตินอเมริกาอยู่ท่ 9% โดยเฉล่ย
ิ
ี
ี
ิ
ี
้
อตราดอกเบยในระดับต�า (Low Interest Rates)
่
ั
ี
รายได้จากการประกอบธุรกิจประกันภัยน้นมาจาก 2 ช่องทางหลัก
ั
ั
ั
ื
ั
ิ
ั
ั
ุ
ั
ั
ด้วยกน คอ 1) การรบประกนภย และ 2) การลงทน โดยบรษทประกนภย
ี
จะน�าเบ้ยประกันภัยท่ได้รับส่วนหน่งไปลงทุนในตลาดเงินตลาดทุนเพ่อให้
ึ
ี
ื
ได้รับผลตอบแทนกลับคืนมา
ในอดีตที่ผ่านมานั้น อัตราผลตอบแทนจากการลงทุนอยู่ในระดับที่สูง
ี
�
�
บริษัทประกันภัยจึงสามารถท่จะรับประกันภัยโดยท่ไม่มีกาไรหรือมีกาไร
ี
จากการรับประกันภัยในระดับตาได้ เน่องจากสามารถนาเบ้ยประกันภัยท ่ ี
ื
�
ี
่
�
ได้รับไปลงทุนให้ได้รับผลตอบแทนในระดับท่สูงและทาให้ผลประกอบการ
�
ี
�
ั
ในภาพรวมของบริษัทน้นมีกาไรได้
ี
อย่างไรก็ตาม สภาวะเศรษฐกิจขาลงในระยะเวลาหลายปีท่ผ่านมา
�
ตราบจนถึงปัจจุบัน ได้ส่งผลทาให้อัตราดอกเบ้ยปรับลดลงมาอยู่ในระดับ
ี
ี
�
่
ท่ตามาก ผลตอบแทนท่บริษัทประกันภัยได้รับจากการลงทุนจึงลดลง
ี
ตามไปด้วยเช่นกน ด้วยเหตุนบรษัทประกนภยจงไม่สามารถนารายได้จากการลงทุนมาเก้อหนุนกาไรหรอผลขาดทนจากการรบประกนภัยได้เหมอนท ่ ี
ั
ี
ั
ื
้
ุ
�
ื
ื
�
ิ
ั
ั
ั
ึ
ึ
ั
ิ
เคยเป็นมา ท้งยังต้องเพ่มความระมัดระวังในการรับประกันภัยมากย่งข้น
ิ
่
�
�
ึ
�
ื
ี
จากข้อจากัดเร่องผลตอบแทนจากการลงทุนซ่งส่งผลทาให้บริษัทประกันภัยไม่สามารถจะกาหนดอัตราเบ้ยประกันภัยในระดับท่ตาได้เหมือนเช่น
ี
�
ั
ิ
้
ึ
ึ
ื
ั
่
ั
�
่
ู
ี
ในอดต บรษัทจงมีความจาเป็นต้องปรบอัตราเบยประกนภยให้สงขน เพอให้สอดคล้องกบความเสยงท่บรษัทรบเข้ามาและระดบความเสยงทยอมรบได้
ั
ี
ี
้
ี
่
ั
ี
ิ
ั
่
ี
ั
ี
�
�
่
ี
ี
ื
ท่ลดลงกว่าเดิม และหากอัตราดอกเบ้ยยังคงอยู่ในระดับตาเช่นน้ต่อไปเร่อย ๆ ก็จะทาให้ธุรกิจประกันวินาศภัยอยู่ในภาวะ Hard Market ท่ลากยาว
ี
ไปอีกหลายปี
ึ
้
่
ุ
่
ี
ต้นทนค่าสินไหมทดแทนทเพมขน (Social Inflation)
ิ
ี
�
ึ
ิ
ึ
หน่งในสาเหตุหลักท่ทาให้ค่าสินไหมทดแทนในต่างประเทศเพ่มสูงข้น
�
ึ
ี
อย่างต่อเน่องในช่วงหลายปีท่ผ่านมา มาจากการเพ่มข้นของคดีท่ถูกนา
ี
ื
ิ
เข้าสู่การพิจารณาของศาลเพ่อให้ศาลพิพากษาให้บริษัทประกันภัยชดใช้
ื
ค่าสินไหมทดแทนแก่ผู้เอาประกันภัย โดยเฉพาะอย่างยิ่งการประกันภัย
รถยนต์เชิงพาณิชย์ การประกันภัยความรับผิดสาหรับผู้ประกอบวิชาชีพแพทย์
�
และการประกันภัยความรับผิดของกรรมการและเจ้าหน้าท่บริหาร
ี
ี
ี
ในปี 2019 ท่ผ่านมา จานวนคดีท่ศาลตัดสินให้บริษัทประกันวินาศภัย
�
ึ
จ่ายค่าสินไหมทดแทนสูงเกินกว่า 20 ล้านเหรียญสหรัฐ เพ่มข้นถึง 300%
ิ
ี
�
ั
ี
ื
เม่อเทียบกับจานวนคดีท้งหมดเฉล่ยย้อนหลังช่วง 10 ปีก่อนหน้าน้ และ
ี
ั
ั
ิ
่
ั
ี
่
ิ
�
ในช่วง 8 ปีทผ่านมา จานวนคดทศาลตดสนให้บรษทประกนวนาศภย
ี
ิ
ั
วารสารประกันภัย ฉบับที่ 148 7