Page 50 - InsuranceJournal155
P. 50
นายวาสิต ล่ำซำ ประธานคณะกรรมการประกันภัยยานยนต
ื
กลาวถึงประเด็นเรอง การประยุกตใชระบบปญญาประดิษฐ (AI)
่
ั
ั
ิ
ื
่
ั
ในการพฒนาอตสาหกรรมประกนภยรถยนต เพอบรหารจดการ
ั
ุ
ปญหาการฉอฉลประกันภัย และ ความพรอมของอุตสาหกรรม
่
ประกันภัยรถยนตกับการประกันภัยรถทีขับเคลือนดวยพลังงาน
่
ไฟฟา วา ในสวนของการบริหารจัดการปญหาการฉอฉลในอุตสาหกรรม
ประกันภัย โดยระบบปญญาประดิษฐ (AI) น้น สมาคมประกันวินาศภัย
ั
ี
ไทย ไดรวมกับภาคธุรกิจประกันภัย และหนวยงานท่เกี่ยวของ
ในการบูรณาการแกไขปญหาเร่องการฉอฉลประกันภัยและเพ่อสราง
ื
ื
ั
ฐานขอมูลรวมกันของภาคธุรกิจ จึงไดจัดต้ง“คณะทำงานศึกษาและ
ึ
แกไขปญหาการฉอฉลประกันภัย (IFWG)” ข้นเพ่อขับเคลื่อนระบบ
ื
การบริหารจัดการปญหาการฉอฉลในอุตสาหกรรมประกันภัยใหเปนไป
อยางเปนรูปธรรม โดยเร่มตนจากการประกันภัยรถยนตกอน ในปจจุบันประเทศท่มีระบบปญญาประดิษฐ (AI) จัดการปญหาการฉอฉล
ิ
ี
ในอุตสาหกรรมประกันภัย ไดแก General Insurance Association of Singapore (GIAS) และ The Hong Kong Federation of
่
้
Insurance (HKFI) ขณะนีอยูระหวางทีคณะทำงานฯ เตรียมพิจารณาคัดเลือกระบบปญญาประดิษฐ (AI) สำหรับการบริหารจัดการปญหา
การฉอฉลในอุตสาหกรรมประกันภัย ทั้งนี้ เพื่อประโยชนของประชาชนผูเอาประกันภัยในภาพรวมที่หากสามารถลดหรือขจัดการ
ฉอฉลลงได จะสามารถทำใหอัตราเบี้ยประกันภัยไปอยูในระดับที่เหมาะสมในอนาคต
่
ในสวนของความพรอมของอุตสาหกรรมประกันภัยรถยนตกับการประกันภัยรถทีขับเคลือนดวยพลังงานไฟฟา (Electric
่
Powered Vehicle: EV) หรือรถ EV นัน จากกระแสความนิยมรถยนตพลังงานไฟฟาทีมีแนวโนมจะเพิมมากขึน คณะกรรมการ
่
้
้
่
ประกันภัยยานยนต จึงไดดำเนินการเตรยมความพรอมใหกับบรษัทสมาชิกเพือใหสามารถดำเนินการจัดการสินไหมทดแทนไดอยาง
ิ
ี
่
ู
ี
ื
ั
ี
ถกตอง รวมถึงเพ่อใหการรบประกนภยรถประเภทดงกลาวไดตามความเสยงภัยทแทจรง โดยคณะกรรมการฯ ไดมีการจดศึกษา
ั
ั
ั
่
่
ิ
ั
ดูงาน และอบรมใหความรูกับบริษัทสมาชิกเกี่ยวกับรถที่ขับเคลื่อนดวยพลังงานไฟฟาในเรื่องโครงสรางและการทำงานของระบบตาง ๆ
ของแบตเตอร่และมอเตอรไฟฟา ตลอดจนการซอมและการบำรุงรักษารถท่ขับเคล่อนดวยพลังงานไฟฟา เปนตน โดยมีวิทยากร
ี
ื
ี
ผูทรงคุณวุฒิจากสถาบันศึกษาและหนวยงานที่เกี่ยวของโดยตรง ไดแก สถาบันยานยนต คณะวิศวกรรมศาสตร สถาบันเทคโนโลยี
พระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง และสถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (วว.) นอกจากนี้ คณะกรรมการฯ
ื
่
ั
่
ั
ั
ี
่
ั
ื
ั
ี
ั
ยงไดรวบรวมขอมลรถท่ขบเคลอนดวยพลงงานไฟฟา เพอจดทำฐานขอมลราคากลางสำหรบรถทขบเคลอนดวยพลงงานไฟฟา
ู
ั
ู
่
ื
ในระบบ TGIABOOK ซึ่งปจจุบันมีขอมูลสะสมตั้งแตป 2019-2022 จำนวน 17 ยี่หอ 56 รุน
อยางไรก็ตาม คณะกรรมการฯ ยังคงมีความกังวลในเรื่องการซอมรถยนตพลังงานไฟฟา (รถ EV) จึงไดดำเนินการประสาน
ไปยังผูผลิตหลายเจา เพื่อรวบรวมขอมูลการจัดซอมและกำหนดเปนราคาคาซอมรถยนตพลังงานไฟฟา (รถ EV) รวมกัน ซึ่งขณะนี้
ี
ู
อยระหวางดำเนินการ นอกจากน้ คณะกรรมการฯ ยังไดจัดทำพิกัดอัตราเบ้ยประกันภัยรถยนต สำหรับรถยนตพลังงานไฟฟา
ี
ี
(รถ EV) โดยไดมีการกำหนดอัตราเบ้ยประกันภัย และรหัสรถยนต คือ ตัวอักษร E เพ่อรองรับสำหรับการรับประกันภัยรถท่ขับเคล่อน
ื
ื
ี
ดวยพลังงานไฟฟาตามคำสั่งนายทะเบียนที่ 65/2563 เรื่อง ใหแกไข เพิ่มเติมแบบขอความกรมธรรมประกันภัยรถยนต และพิกัด
อัตราเบียประกันภัยรถยนต สัง ณ วันที 15 ตุลาคม 2563 และหากในระยะ 3 ป การใชรถยนตพลังงานไฟฟา (รถ EV) เติบโต
่
่
้
ื
ี
่
อยางท่ไดมการคาดการณไว ก็จะสงผลใหมีขอมูลจำนวนมากพอเพอใหสามารถดำเนินการจัดทำพิกัดอัตราเบ้ยประกันภัย
ี
ี
เฉพาะรถยนตพลังงานไฟฟา (รถ EV) ไดตอไป
50 วารสารประกันภัย ฉบับที่ 155