Page 174 - InsuranceHandbook
P. 174
ผู้บริหารต้องกำหนดทิศทาง นโยบาย และแนวปฏิบัติในการบริหารความเสี่ยงและสื่อสาร วัตถุประสงค์และ บทที่ 13
ื่
ประโยชน์ที่จะได้รับจากการบริหารความเสี่ยงขององค์กรไปยังพนักงานทุกคนเพอให้เกิดความตระหนักและเห็น อัตราส่วนทางการเงินที่สำคัญของบริษัทประกันภัย
ิ
่
ี
คณคาของการบรหารความเสยง การขาดการสนับสนุนจากผู้บริหารจะทำให้บุคลากรในองค์กรขาดความรู้
ุ
่
ความเข้าใจที่ถูกต้องและมองขามความสำคญของการบรหารความเสยง ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อความมนคงทางการ ศิริ สวรรค์พรเพ็ญ
ี
ั
่
่
้
ั
ิ
เงิน ชื่อเสียง ผลการดำเนินงาน และการบรรลุเป้าหมายของบริษัทในที่สุด
อัตราส่วนทางการเงินสามารถใช้สำหรับการประเมินผลการดำเนินงานทางการเงินโดยรวมของกิจการและ
ยังช่วยประเมินผลการดำเนินงานของบริษัทเทียบกับบริษัทอื่นในอุตสาหกรรมเดียวกันได้ อัตราส่วนทางการเงน
ิ
ิ
่
ไม่ได้เป็นจุดสิ้นสุดของการประเมินหรือการวิเคราะหของกิจการ แต่เป็นจุดเรมต้นในการทำความเข้าใจพื้นฐานของ
์
กิจการ การจะใช้อัตราส่วนทางการเงินได้อย่างมีประสิทธิภาพควรจะมีการเปรียบเทียบกับค่ามาตรฐาน เปรียบเทียบ
ั
ิ
้
กับบริษัทที่มีขนาดใกล้เคียงกัน เปรียบเทียบกับช่วงเวลาในอดีต เป็นต้น ดังนน อัตราส่วนทางการเงน
จึงเป็นเครองมือที่จะทำให้ผู้ใช้งบการเงินสามารถเห็นสถานภาพทางการเงินของธุรกิจและแนวทางการเติบโตของ
่
ื
ธุรกิจได้ดีขึ้น
โดยทั่วไปแล้ว อัตราส่วนทางการเงินมีหลากหลายประเภทซึ่งแต่ละประเภทก็จะมีวัตถุประสงค
์
ในการประเมินที่แตกต่างกันไป เช่น อัตราส่วนสภาพคล่องที่ส่วนใหญ่ผู้ให้กู้จะใช้เป็นตัวชี้วัดว่าความเสี่ยงจาก
การให้กู้จะอยู่ที่เท่าไร หรืออัตราส่วนการดำเนินงานนั้นส่วนใหญ่แล้วนักลงทุนจะใช้ในการประเมินผลกำไรที่จะได้รับ
์
หากจะลงทุนกับบริษัท หรืออัตราส่วนประสิทธิภาพที่จะเน้นการประเมินเรื่องการบริหารสินทรัพย
อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นต้น
ื
อย่างไรก็ตาม สำหรับธุรกิจประกันภัยจะมีอัตราส่วนทางการเงินที่แตกต่างจากธุรกิจประเภทอื่นเน่องจาก
พื้นฐานของธุรกิจประกันภัยไม่มีต้นทุนที่แน่นอน ไม่มีสินทรัพย์ถาวร ไม่มีการบริการที่จับต้องได้ แต่มความเสี่ยงท ี ่
ี
จะต้องจ่ายค่าสินไหมทดแทนหากมีอุบัติเหตุหรือความเสียหายต่อทรัพย์สินที่รับประกันภัยไว้ ทำให้อัตราส่วน
การทำกำไรของธุรกิจประกันภัยไม่ค่อยคงที่ ดังนั้น ความสำคัญในการดำเนินธุรกิจประกันภัยจึงขึ้นอยู่กับการจัดการ
ความเสี่ยงที่ได้รับโอนมาแล้วและความเพียงพอของทุนต่อความเสี่ยงที่มีอยู่ จึงทำให้ธุรกิจประกันภัยต้องมีหน่วยงาน
ที่ควบคุมดูแลเพื่อให้ผู้บริหารไม่ดำเนินธุรกิจที่เสี่ยงเกินไปจนทำให้มีผลกระทบต่อผู้เอาประกันภัย
สำหรับธุรกิจประกันวินาศภัยมอัตราส่วนทางการเงินที่ใช้โดยทั่วไปอยู่ 3 ประเภท คือ
ี
1. อัตราส่วนดำเนินงาน (Operating Ratio)
2. อัตราส่วนสภาพคล่อง (Liquidity Ratio)
3. อัตราส่วนเงินกองทุน (Capital Ratio)
ทั้งนี้ สำนักงานคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.) ได้ใช้อัตราส่วน
ดังกล่าวในการกำกับดูแลบริษัทประกันภัยต่าง ๆ เช่นกัน
1. อัตราส่วนดำเนินงาน
ุ
กำไรของธุรกิจประกันภัยโดยรวมประกอบไปด้วย กำไรจากการรับประกันภัย และรายได้จากการลงทน
ุ
โดยกำไรจากการรับประกันภัยมาจากเบี้ยประกันภัยที่ถือเป็นรายได้สทธิหักด้วยค่าสนไหมทดแทนและค่าใช้จ่ายใน
ิ
ื
้
การดำเนินงาน ในขณะที่รายได้จากการลงทุนประกอบไปด้วย ดอกเบี้ยรับ เงินปันผล กำไรหรือขาดทุนจากการซอ
ขายหุ้น ฯลฯ ทั้งนี้จะกล่าวถึงเรื่องการลงทุนในบทต่อไป
ทั้งนี้ การใช้อัตราส่วนดำเนินงานเพื่อวิเคราะห์จะทำให้นักวิเคราะห์ หรือนักลงทุน หรือผู้เอาประกันภัย
ทราบถึงแนวทางการดำเนินงานและความสามารถในการพัฒนาอย่างยั่งยืนของบริษัทประกันภัย หากอัตราส่วน
้
ดำเนินงานของบริษัทประกันภัยอยู่ต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานอย่างต่อเนื่องจะทำใหบริษัทประกันภัยนั้นอาจมีปัญหา
ทางการเงินและในที่สุดจะส่งผลกระทบต่อผู้เอาประกันภัยและเศรษฐกิจโดยรวมได้ อัตราส่วนที่สำคัญมีดังนี้
ลขสทธของสมาคมประกนวนาศภยไทย หามนาไปใช้ในการแสวงหากําไรทางการคา ้
ิ
ั
ิ
้
ํ
ิ
ิ
ั
์