Page 172 - InsuranceHandbook
P. 172

บทที่ 12 การบริหารความเสี่ยงของบริษัทประกันภัย   153



              8. โครงสร้างการกำกับดูแลการบริหารความเสี่ยงของบริษัทประกันภัย







































                                   รูปภาพที่ 12-6 โครงสร้างการกำกับดูแลการบริหารความเสี่ยง

 รูปภาพที่ 12-5 กรอบการบริหารความเสี่ยงและความมั่นคงทางการเงิน   โครงสรางการกำกบดแลการบรหารความเสยงทเหมาะสมจะช่วยใหเกดระบบการตรวจสอบและถ่วงดุล
                                                              ี
                                                              ่
                                                                                 ิ
                            ้
                                     ั
                                                                              ้
                                                          ่
                                        ู
                                                          ี
                                                ิ
              (Check and Balance) ขึ้นในบริษัทประกันภัย ช่วยให้เกิดวัฒนธรรมของการบริหารความเสยง และช่วยกระตน
                                                                                            ี
                                                                                            ่
                                                                                                           ุ
                                                                                                           ้
 ี
 ในการประเมินความเสี่ยงและความมั่นคงทางการเงินของบริษัทประกันภัยผ่านทางอตราส่วนความเพยงพอ  และส่งเสริมให้พนักงานทุกคนมีจิตสำนึกและมีส่วนร่วมในการบริหารความเสี่ยงในหน่วยงานที่ตนรับผิดชอบ
 ั
 ั
 ของเงินกองทุนนั้น บริษัทจะต้องมีการกำหนดระดับอตราส่วนความเพยงพอของเงินกองทุนภายใน            โครงสรางการกำกบดแลการบรหารความเสี่ยงของบริษัทประกันภัยอยู่บนแนวคิดที่เรียกว่า
 ี
                                                    ิ
                             ้
                                          ู
                                       ั
 ึ
 ั
 ่
 (Internal Capital Adequacy Ratio Level) ซงสูงกว่าระดับกำกับที่สำนกงานคณะกรรมการกำกับและส่งเสริม  Three Lines of Defense Model ซึ่งแบ่งการกำกับดูแลออกเป็น 3 ส่วนดังนี้
 การประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.) กำหนดไว้ และจัดให้ 4 หน่วยงานควบคมหลัก ซึ่งได้แก่หน่วยงานบริหาร  การกำกับดูแลส่วนที่ 1 จะเป็นการบริหารความเสยงในการปฏิบติงานของแตละหน่วยงาน ซึ่งอยู่ภายใต้
 ุ
                                                               ่
                                                               ี
                                                                            ั
                                                                                      ่
 ความเสยง หนวยงานดูแลการปฏิบัตตามกฎหมาย หนวยงานคณิตศาสตรประกนภัย และหนวยงานตรวจสอบ  การควบคุมดแลของคณะกรรมการบรษท และประธานเจาหน้าที่บริหาร และถูกวัดผลด้วยดัชนีชี้วัด
 ี
 ่
 ่
 ์
 ั
 ่
 ิ
 ่
                                                                     ้
                                                    ั
                                                  ิ
                           ู
 ภายใน ปฏิบัติงานเพอสนับสนุนและส่งเสริมให้การประเมินความเสี่ยงและความม่นคงทางการเงินของ            ผลการปฏิบัติงาน (Key Performance Indicators: KPIs)
 ั
 ื่
 บริษัทประกันภัยดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล   การกำกับดูแลส่วนที่ 2 จะเป็นการกำกับดูแลการบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กรโดยคณะกรรมการบริหาร
              ความเสี่ยง ฝายบริหารความเสยง ฝ่ายคณิตศาสตร์ประกันภัย และฝายดูแลการปฏิบติตามกฎหมาย ซึ่งถูกวัดผล
                                                                        ่
                                                                                      ั
                                        ่
                                        ี
                         ่
              ด้วยดัชนีชี้วัดความเสี่ยง (Key Risk Indicators: KRIs)
                     การกำกับดูแลส่วนที่ 3 จะเกี่ยวข้องกับการสร้างความเชื่อมั่นของการบริหารความเสี่ยงผ่านกลไกการ
              ตรวจสอบ ซงประกอบด้วย คณะกรรมการตรวจสอบ ฝายตรวจสอบภายใน และผตรวจสอบภายนอก และถูก
                         ่
                         ึ
                                                                                     ู
                                                                                     ้
                                                              ่
              ควบคุมด้วยดัชนีชี้วัดการควบคุม (Key Control Indicators: KCIs)
                     การสนับสนุนจากผู้บริหารระดับสูงถือเป็นปัจจัยสำคัญต่อความสำเร็จของการบริหารความเสี่ยง ผู้บริหาร
              ของบริษัทต้องให้ความสำคัญกับการสร้างวัฒนธรรมการบริหารความเสี่ยงภายในองค์กร มีการกระตุ้นและส่งเสริม
              ให้พนักงานทุกคนของบริษัทมีจิตสำนึกและมีส่วนร่วมในการบริหารความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับหน่วยงานที่ตน
              รับผิดชอบ และประยุกต์ใช้ให้การบริหารความเสี่ยงเป็นส่วนหนึ่งของการทำงาน

                                                  ั
                                                        ั
                                                             ้
                                   ลขสทธของสมาคมประกนวนาศภยไทย หามนาไปใช้ในการแสวงหากําไรทางการคา ้
                                                               ํ
                                    ิ
                                                    ิ
                                       ์
                                       ิ
                                      ิ
   167   168   169   170   171   172   173   174   175   176   177