Page 168 - InsuranceHandbook
P. 168
บทที่ 12 การบริหารความเสี่ยงของบริษัทประกันภัย 149
ื
บริษัทจะต้องมีการตอบสนองความเสี่ยงอย่างเหมาะสมเพ่อให้ความเสี่ยงของบริษัทอยู่ในระดับที่ยอมรับได้
โดยต้องมีการพิจารณาและประเมินประสิทธิภาพของเทคนิควิธีการบริหารความเสี่ยงที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน ควบคู่กันไป
กบมาตรการและเทคนควิธีการตอบสนองความเสยงทจะใช้เพมเติมในอนาคต เพอหามาตรการทเหมาะสมทสด
ี
่
ี
่
ุ
ิ
่
่
ั
ี
่
ี
ื
ิ่
สำหรับแต่ละความเสี่ยง ในการพิจารณาประเมินและเลือกมาตรการการตอบสนองความเสี่ยงนั้น บริษัทประกันภัย
่
จะต้องพจารณาถึงประสิทธิผลของแต่ละมาตรการว่ามีความคุ้มคามากน้อยเพียงใด โดยพิจารณาถึงต้นทุนค่าใช้จ่าย
ิ
ที่จะเกิดขึ้นควบคู่ไปกับประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับทั้งในระยะสั้นและระยะยาว
วิธีการที่ดีที่สดในการตอบสนองความเสยงกคือการตอบสนองความเสี่ยงก่อนที่จะเกิดเหตุการณ์ที่ไม่พง
ุ
ี
่
็
ึ
ิ
ประสงค์ กล่าวคือ ภายหลังจากที่บริษัทประกันภัยได้ระบุความเสี่ยงแล้ว ควรพจารณาหาสาเหตุของความเสี่ยง
ควบคู่กันว่ามาจากสาเหตุใด เพื่อที่จะได้ดำเนินการหาวิธีการป้องกันไม่ให้สาเหตุเหล่านั้นเกิดขึ้น แต่หากการป้องกน
ั
นั้นยังไม่มีประสิทธิผลเพยงพอและก่อให้เกิดความเสี่ยงที่ไม่พึงประสงค์หรือเกิดเหตุการณ์มหันตภัยที่อยู่นอกเหนือ
ี
์
การคาดการณล่วงหน้า การตอบสนองความเสี่ยงในลำดับถัดไปคือการตอบสนองความเสี่ยง ณ เวลาที่เกิดเหตุการณ ์
นั้น เพือลดผลกระทบและลดระยะเวลาของการเกิดความเสียหาย ในขณะที่การตอบสนองความเสยงภายหลงการ
ี
่
ั
่
ี
ื่
่
ื
เกิดเหตุการณ์จะเป็นการดำเนินการเพอบรรเทาความเสยหายที่ได้เกิดขึ้นแล้ว เพอให้มั่นใจว่าบริษัทจะสามารถ
กลบมาดำเนนการเป็นปกติได้ในระยะเวลาที่สั้นที่สุด รวมถึงการหามาตรการปองกันไม่ให้เกิดเหตุการณ์ในลักษณะ
้
ั
ิ
ดังกล่าวอกในอนาคตและการปรับปรุงมาตรการบริหารความเสี่ยงที่ใช้อยู่ให้มีประสทธิภาพและประสทธิผลมาก
ิ
ี
ิ
ยิ่งขึ้น
การตอบสนองความเสี่ยงโดยวิธีการที่ไม่ใช้การประกันภัยนั้นถือเป็นสิ่งที่ต้องดำเนินการก่อน ซึ่งโดยทั่วไป
่
ี
์
ี
่
ุ
แล้วก็คือการดำเนนการแบบ Proactive และ Preventive โดยการวิเคราะหหาสาเหตทมาของความเสยงและ
ิ
ดำเนินมาตรการป้องกันไว้ล่วงหน้า ในขณะที่การตอบสนองความเสี่ยงโดยวิธีการประกันภัยต่อนั้นถือเป็นมาตรการ
ดำเนินการเพื่อให้มั่นใจว่าหากเกิดความเสียหายที่ไม่คาดคิดขึ้นแล้ว บริษัทประกันภัยจะได้รับการชดใช้ค่าเสียหายที่
เกิดขึ้นและสามารถกลับมาดำเนินธุรกิจอย่างปกติได้โดยเร็ว การประกนภัยต่อยังเป็นเครื่องมือที่ช่วยให้
ั
บริษัทประกันภัยสามารถควบคุมต้นทุนค่าใช้จ่ายในการดำเนินการและลดความผันผวนที่อาจเกิดขึ้นต่องบการเงิน
์
ผลประกอบการ และเงินกองทุน หากเกิดความเสียหายที่มีมูลค่าสูงหรือเมื่อเกิดเหตุการณมหันตภัยขึ้น
5.4 การควบคุมและติดตามผล (Risk Control and Monitoring)
บริษัทประกันภัยจะตองมีการควบคุมและติดตามผลเพอให้มั่นใจว่าการตอบสนองความเสี่ยงเป็นไปอย่างที่
้
ื่
้
ตองการ และความเสี่ยงหลกของบริษัทได้รับการบริหารจัดการให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ นอกจากนี้ สภาวะ
ั
แวดลอมท้งภายในและภายนอกบริษัทมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ความเสี่ยงเดิมที่บริษัทเผชิญอยู่อาจมีการ
้
ั
้
้
เปลี่ยนแปลงไปหรืออาจมีความเสี่ยงรปแบบใหม่เกิดขึ้น การเปลี่ยนแปลงของเทคนิคความรู้ ความกาวหนาทาง
ู
เทคโนโลยีอาจก่อให้เกิดเทคนิคมาตรการใหม่ในการบริหารความเสี่ยงที่มีประสิทธิภาพดีมากยิ่งขึ้น หรืออาจ
ุ
ึ
ก่อให้เกิดความเสี่ยงรูปแบบใหม่ก็เป็นได้ ดังนั้น บริษัทประกันภัยจงตองมีการควบคมและติดตามการบริหารความ
้
เสี่ยงอย่างต่อเนื่อง มีการทบทวนความเสี่ยงหลักที่จะส่งผลกระทบต่อองค์กรในอนาคต และเตรียมพร้อมหาวิธีและ
้
ุ
มาตรการในการจดการลวงหนา รวมถงการทบทวนและปรับปรงมาตรการบรหารความเสี่ยง ดัชนีชี้วัดความเสี่ยง
ิ
ึ
ั
่
และขีดจำกัดความเสี่ยงให้มีความเหมาะสมกับสถานการณ์อยู่เสมอ
์
ิ
ิ
ลขสทธของสมาคมประกนวนาศภยไทย หามนาไปใช้ในการแสวงหากําไรทางการคา ้
ิ
้
ํ
ั
ั
ิ