Page 166 - InsuranceHandbook
P. 166

บทที่ 12 การบริหารความเสี่ยงของบริษัทประกันภัย    147




 ิ
 ในการดำเนนงานเพอให้บรรลุถึงวิสัยทัศน์และพนธกิจของบริษัทได้นั้น ค่านิยมของบริษัทกถือเป็นปัจจัย  5. กระบวนการบริหารความเสี่ยง
 ื่
 ็
 ั
 ่
 สำคัญ ค่านิยม (Core Values) หมายถึง คุณลักษณะและบรรทัดฐานที่เป็นลักษณะเฉพาะของแตละบริษัท     กระบวนการบริหารความเสี่ยง ประกอบด้วยขั้นตอนต่าง ๆ 5 ขั้นตอนดังต่อไปนี้
 ประกันภัย ซึ่งเป็นสิ่งกำหนดพฤติกรรมและแนวทางในการปฏิบัติงานของพนักงานและชี้นำการตัดสินใจต่าง ๆ ที่จะ
 มผลต่อการดำเนินงาน
 ี
 เนื่องจากเป้าหมายของบริษัทเป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นถึงผลสำเร็จหรือผลลัพธ์ที่บริษัทต้องการจะบรรลุใน
 ิ
 อนาคตภายใต้ข้อจำกัดต่าง ๆ ที่มีอยู่ในการประกอบธุรกจ การกำหนดเป้าหมายที่ชัดเจนและวัดผลได้ ไม่ว่าจะเป็น
 เป้าหมายด้านการเงิน เป้าหมายด้านลูกค้า เป้าหมายด้านกระบวนการทำงาน และเป้าหมายด้านบุคลากร จะช่วยให้
 ิ
 บุคลากรของแตละหนวยงานสามารถวางแผนกลยทธ์และการดำเนนงานในหน่วยงานของตนใหสอดคล้องกับ
 ่
 ุ
 ่
 ้
 เป้าหมายของบริษัท ทั้งนี้ บริษทประกนภัยจะต้องมการวัดผลการดำเนนงานอยางต่อเนองเพอให้ทราบว่าบริษัท
 ื่
 ั
 ั
 ี
 ่
 ่
 ื
 ิ
 ี
 สามารถบรรลุเป้าหมายที่ได้กำหนดไว้แล้วมากน้อยเพยงไร และระบุว่ามีสิ่งใดบางที่อาจทำให้ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
 ้
 แตกต่างไปจากสิ่งที่ได้กำหนดไว้หรือคาดการณ์ไว้ ซงสิ่งเหล่านี้ก็คือ “ความเสี่ยง” ที่เราเข้าใจและให้นิยามกันนั่นเอง
 ่
 ึ
 ้
 เนื่องจากความเสี่ยงเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ในการประกอบธุรกิจ บริษัทประกันภัยจึงควรตองกำหนด
 “ระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้” (Risk Appetite) ของตนเองว่า ระดับความเสี่ยงในภาพรวมที่บริษัทเต็มใจยอมรับ
 ี
 เพอให้บรรลุภารกิจ วิสัยทัศน์ วัตถุประสงค์ และเปาหมายทางธุรกจ มีมากน้อยเพยงใด นอกจากนี้ ยังต้องม
 ื่
 ิ
 ้
 ี
 ้
 ่
 ี
 ่
 ึ
 ี
 การกำหนด “ช่วงความเบ่ยงเบนทยอมรับได” (Risk Tolerance) ซงเป็นระดับความเสี่ยงที่กำหนดยอยลงมาจาก
 ่
 ื่
 ระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ เพือกำหนดกรอบในการดำเนินงานเพอให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ โดยอาจกำหนด  รูปภาพที่ 12-3 กระบวนการบริหารความเสี่ยง
 ่
 ย่อยลงมาตามประเภทความเสี่ยง ผลิตภัณฑ หรือกิจกรรมหลัก ตามความเหมาะสม
 ์
 ความเสี่ยงในการดำเนินธุรกิจโดยเฉพาะความเสี่ยงหลัก (Key Risks) นั้น ควรจะถูกระบุและประเมิน  5.1 การระบุความเสี่ยง (Risk Identification)
 ออกมาให้ครบถ้วน ทั้งความเสี่ยงด้านลบและความเสี่ยงด้านบวก เพอให้ผู้ที่เกี่ยวข้องสามารถบริหารจัดการ       การระบุความเสี่ยงเป็นขนตอนแรกของกระบวนการบริหารความเสี่ยงในการระบว่า จะมีความเสี่ยงอะไร
 ื่
                                                                                         ุ
                                          ั
                                          ้
 ื
 ่
 ุ
 ความเสี่ยงเหล่านี้ให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้และหาวิธีการจัดการเพอทำให้บริษัทบรรลเป้าหมายทได้กำหนดไว้   ที่อาจจะเกิดขึ้นได้บ้างทั้งภายในและภายนอกบริษัท ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อการบรรลุเป้าหมายของบริษัท และ
 ี
 ่
 ความเสี่ยงเหล่านี้อาจมาจากการเปลี่ยนแปลงของสภาวะแวดล้อมภายในบริษัทเอง (การเปลี่ยนแปลงผู้บริหาร   ภาพความเสยงรวมของบริษัทด้วย ในการระบุความเสี่ยงนั้น ควรต้องมีการระบุสาเหตุหรือแหล่งที่มาของ
                         ่
                         ี
 ิ
 ี
 โครงสรางการบรหารงาน อำนาจการตดสนใจ การกำกับดแล และการตรวจสอบภายใน การเปลยนแปลงสถานะ  แต่ละความเสี่ยง เพอให้บริษัทสามารถกำหนดมาตรการที่เฉพาะเจาะจงที่จะไปจัดการกับความเสี่ยงเหล่านั้นได้ถูกท  ี่
 ่
 ู
 ้
 ั
 ิ
                              ื่
 ทางการเงิน เงนกองทน การเปลยนรูปแบบการทำธุรกจ การเปลี่ยนแปลงระบบและกระบวนการทำงาน หรือ       นอกจากนี้แล้ว ยังควรมีการระบุถึงผลกระทบที่ความเสี่ยงเหล่านั้นจะส่งผลต่อบริษัทประกันภัยในด้านตาง ๆ เช่น
 ่
 ี
 ุ
 ิ
 ิ
                                                                                                     ่
 ู
 ่
 ้
 การนำเทคโนโลยีรปแบบตางๆ มาใช้ในบริษัท) หรือสภาวะแวดลอมภายนอกบริษัท (การเปลี่ยนแปลงกฎหมาย     ผลกระทบด้านกลยุทธ์ (ชื่อเสียง ผลการจัดอนดับความน่าเชื่อถือ) ผลกระทบด้านการเงน (รายได ผลกำไร
                                                      ั
                                                                                            ิ
                                                                                                     ้
 ั
 การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและทศนคติของผู้บริโภค ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี เหตุการณ์ทางการเมือง         เงินกองทุน สภาพคลอง) และผลกระทบด้านการดำเนินงาน (ประสิทธิภาพในการทำงาน การขาดแคลนบคลากร
                                                                                                       ุ
                                ่
 การเปลี่ยนแปลงของสภาวะเศรษฐกิจ การเกิดเหตุการณ์ที่เป็นมหันตภัย) ก็เป็นได้   การหยุดชะงักของธุรกิจ ความสามารถในการปฏิบตตามกฎหมายกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง) เพอให้บริษัทประกันภัย
                                                                                           ื่
                                                        ั
                                                          ิ
 ์
 การระบุความเสี่ยงที่อาจจะทำให้ผลลัพธ์ต่างไปจากที่เราคาดการณไว้ รวมทั้งสาเหตุของความเสี่ยงเหล่านี้   สามารถนำข้อมูลเหล่านี้ไปใช้ในการจดลำดบความสำคญของความเสยงและกำหนดมาตรการบรหารความเสยงที่
                                                  ั
                                                                                               ิ
                                                            ั
                                             ั
                                                                                                         ี
                                                                        ่
                                                                        ี
                                                                                                         ่
 และผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น จะช่วยให้เราสามารถกำหนดมาตรการที่เหมาะสม เพอบริหารจัดการความเสี่ยงเหล่านี้  เหมาะสมต่อไป
 ื่
 ิ
 และทำให้ผลลัพธ์ที่เกดขึ้นเป็นไปตามที่เราต้องการและอยู่ในระดับที่ยอมรับได้ และเนื่องจากสภาวะแวดล้อมภายใน  การระบุความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นนั้น ควรจะตองระบุทั้งความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นและส่งผลกระทบด้านลบ
                                                            ้
 และภายนอกบริษัทมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ซึ่งอาจก่อให้เกิดความเสี่ยงได้ตลอด เราจึงต้องมีการติดตามผล  และด้านบวก ซึ่งเป็นโอกาสที่บริษัทประกันภัยควรหาผลประโยชน์ควบคู่กัน
 การบริหารความเสี่ยงและติดตามสถานะความเสี่ยงของบริษัทอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งระบุความเสี่ยงในแต่ละช่วงเวลา  เทคนิควิธีในการระบุความเสี่ยงนั้นมีหลากหลาย เช่น การจัดทำแบบสอบถามเพอสำรวจความคดเห็นจาก
                                                                                        ื่
                                                                                                     ิ
 ซึ่งอาจเกิดขึ้นแล้วทำให้องค์กรของเราไม่บรรลุเป้าหมายที่ได้กำหนดไว้   ผู้บริหาร การจัดประชุมเพอระดมสมองและความเหน การใช้ข้อมูลภายในบริษัทและข้อมูลจากภายนอกเพอให้
                                     ื
                                                                                                         ื่
                                                          ็
                                     ่
 การดำเนินการดังที่กล่าวมาข้างต้น เรียกได้ว่าเป็นกระบวนการในการบริหารความเสี่ยง บริษัทประกันภัย  ทราบถึงสภาวการณ์และแนวโน้มของความเสี่ยงอุบัติใหม่ที่อาจเกิดขึ้น
 ต้องมีการบริหารความเสี่ยงอย่างต่อเนื่อง เพอให้ผลการดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ทั้งในระยะสั้น
 ื่
 และระยะยาว และมีการวัดประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการบริหารความเสี่ยงอย่างต่อเนื่อง
                                       ์
                                       ิ
                                      ิ
                                   ลขสทธของสมาคมประกนวนาศภยไทย หามนาไปใช้ในการแสวงหากําไรทางการคา ้
                                    ิ
                                                             ้
                                                               ํ
                                                        ั
                                                  ั
                                                    ิ
   161   162   163   164   165   166   167   168   169   170   171