Page 167 - InsuranceHandbook
P. 167

148   คู่มือประกันวินาศภัยไทย
             Thai General Insurance Handbook



                     5.2 การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment)
                     การประเมินความเสี่ยงโดยทั่วไปจะพิจารณาใน 2 มิติ คือการประเมินโอกาส ความถี่ หรือความน่าจะเป็น
                                                                                                           ิ
              (Frequency/ Probability) และการประเมินความรุนแรงหรือผลกระทบ (Impact/ Severity) โดยการประเมน
              ความเสี่ยงนี้สามารถทำได้ทั้งการประเมินเชิงปริมาณ (การประเมินที่วัดมูลค่าออกมาเป็นตัวเลข) และการประเมิน

              เชิงคุณภาพ (การประเมินที่ไม่สามารถวัดมูลค่าออกมาเป็นตัวเลขได้)
                     เมื่อได้ประเมินโอกาส และ/หรือ ผลกระทบของความเสี่ยงเหล่านี้แล้ว จึงนำความเสี่ยงที่ได้ระบุไว้
                                                                                       ่
                                                                                               ั
              มาจัดลำดับความเสี่ยง เพอระบุว่าความเสี่ยงใดเป็นความเสี่ยงหลักที่จะส่งผลกระทบตอความม่นคงทางการเงิน
                                    ื่
              ชื่อเสียง ภาพลักษณ์ และการอยู่รอดของบริษัทประกันภัยอย่างมีนัยสำคัญ เพอที่บริษัทจะไดหามาตรการ
                                                                                                 ้
                                                                                    ื่
              ในการตอบสนองความเสี่ยงเหล่านี้อย่างทันกาลและเหมาะสม
                     นอกจากนี้ ยังต้องมีการกำหนด “เจ้าของความเสี่ยง” (Risk Owner) สำหรับแต่ละความเสี่ยงหลักเพอทำ
                                                                                                         ื่
              หน้าที่ในการบริหารความเสี่ยงที่ตนรับผิดชอบให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้และช่วงความเบี่ยงเบนที่ยอมรับได้
                                                                       ี
                                                                       ่
                                                                                    ึ
              โดยเจ้าของความเสี่ยงเป็นผู้รับผิดชอบในการจัดทำทะเบียนความเสยงของตน รวมถงกำหนดดัชนีชี้วัดความเสี่ยง
                                            ั
              และขีดจำกัดความเสี่ยงที่สอดคล้องกบระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ ติดตามสถานะความเสี่ยงและการเปลี่ยนแปลง
                                                                                     ่
                                                                           ิ
                                                                                         ี
                                                       ิ
                                                 ิ
              ของความเสี่ยงหลักของบริษัท และประเมนประสทธิภาพของมาตรการบรหารความเสยงทใช้ตามรอบระยะเวลาท      ี ่
                                                                                     ี
                                                                                         ่
              เหมาะสม
                     5.3 การตอบสนองความเสี่ยง (Risk Response)
                                        ่
                                                           ื
                                        ี
                     การตอบสนองความเสยงเป็นการระบุและเลอกเทคนควิธีการบริหารความเสี่ยงหรือมาตรการต่าง ๆ ที่
                                                                  ิ
                                         ื่
                                                                                    ่
              บริษัทประกันภัยจะดำเนินการเพอบริหารความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ โดยทวไปแลว การตอบสนองความ
                                                                                          ้
                                                                                    ั
              เสี่ยงจะแบ่งออกได้เป็น 2 ประเด็นหลักคือ 1) การควบคุมความเสี่ยง (Risk Control) และ 2) การจัดหาแหล่ง
              เงินทุนในการบริหารความเสี่ยง (Risk Financing)
                     ในการควบคุมความเสี่ยงนั้น สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 วิธีหลัก คือ 1) การหลีกเลี่ยงความเสี่ยง (Risk
                                                                                          ั
                                                                                                     ่
              Avoidance) ซึ่งเป็นการตัดสินใจที่จะไม่รับความเสี่ยงเข้ามา เช่น การปฏิเสธไมรับประกนภัย การไมลงทนใน
                                                                                                         ุ
                                                                                  ่
              สินทรัพย์ที่มีความเสี่ยงสูง การไม่ทำประกันภัยต่อกับบริษัทที่มีผลการจดอันดับความนาเชื่อถอต่ำกว่า A- หรือไม่
                                                                          ั
                                                                                       ่
                                                                                            ื
              ลงทุนในตราสารที่ผู้ออกหลักทรัพย์มีอนดับความน่าเชื่อถือต่ำกว่า A- และ 2) การลดความเสี่ยง (Risk Reduction)
                                             ั
                                                                                          ่
              ซึ่งเป็นการลดโอกาส และ/หรือ ผลกระทบของความเสี่ยง เช่น การจัดให้มีความรับผิดสวนแรก(Deductible)
              สำหรับการประกันภัยรถยนต์ เพอให้ผู้เอาประกันภัยมีความระมัดระวังในการขับขี่มากยิ่งขึ้น การจัดให้มีระบบ
                                          ื่
                                                                   ่
                                                                   ื
                                 ี
                              ั
              ป้องกันและระงับอคคภัยรวมถึงอปกรณ์ดับเพลงในโรงงาน เพอลดโอกาสและความรุนแรงในกรณีที่เกิดไฟไหม้
                                           ุ
                                                      ิ
                                                        ิ
                                                                             ่
                                                                                       ิ
                  ั
              การจดใหมนโยบาย แนวปฏิบัติ และคู่มือในการพจารณารับประกนภัย เพือลดความผดพลาดในการปฏิบัติงาน
                                                                      ั
                       ี
                      ้
                                                                                                      ิ
                                                                                                ิ่
              การนำเทคโนโลยีมาใช้ทดแทนงานที่เป็นการทำซ้ำหรือมีความซับซ้อน เพื่อลดความผิดพลาดและเพมประสทธิภาพ
              ในการทำงาน
                     สำหรับการจัดหาแหล่งเงินทุนในการบริหารความเสี่ยงนั้น สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 วิธีหลัก คือ
              1) การโอนความเสี่ยง (Risk Transfer) เช่น การทำประกันภัยต่อ วิธีนี้จะทำให้มีผู้เข้ามาช่วยรับภาระทางการเงินใน
              การจ่ายค่าสินไหมทดแทน ซึ่งก็คือบริษัทประกันภัยต่อ และ 2) การรับความเสี่ยง (Risk Retention) ซึ่งเป็นการเก็บ
              ความเสี่ยงไว้เอง ดังนั้น เมื่อเกิดความเสียหายขึ้น เราจึงต้องเป็นผู้รับภาระในการจ่ายค่าสินไหมทดแทนจากเงินของ
              บริษัท



                                       ์
                                       ิ
                                      ิ
                                   ลขสทธของสมาคมประกนวนาศภยไทย หามนาไปใช้ในการแสวงหากําไรทางการคา ้
                                    ิ
                                                             ้
                                                               ํ
                                                        ั
                                                  ั
                                                    ิ
   162   163   164   165   166   167   168   169   170   171   172