Page 164 - InsuranceHandbook
P. 164
บทที่ 12 การบริหารความเสี่ยงของบริษัทประกันภัย 145
6. ความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ (Operational Risk) หมายถึง ความเสี่ยงที่เกิดจากการขาดการกำกับดูแล 4. ความเชื่อมโยงของการบริหารความเสี่ยงและการดำเนินธุรกิจ
หรือขาดการควบคุมที่เพียงพอและเหมาะสมของกระบวนการภายในบริษัท บุคลากรของบริษัท ระบบงานหรือ
ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของบริษัท หรือจากเหตุการณ์ภายนอก เช่น การขาดแคลนบุคลากรที่มีความรู้
ั
ความเชี่ยวชาญ การหมุนเวียนของพนักงานในอตราที่สูง การไม่ปฏิบัติตามข้อบังคับของกฎหมาย การฉ้อฉล
ิ
การขัดข้องหรือหยุดชะงักของระบบงาน ความผิดพลาดที่เกดขึ้นเนื่องมาจากการใช้บริการจากบุคคลภายนอก
7. ความเสี่ยงด้านชื่อเสียง (Reputation Risk) หมายถึง ความเสี่ยงที่เกิดจากมุมมองของผู้มีส่วนได้ส่วน
์
เสียหรือมุมมองสาธารณะต่อภาพลักษณ แบรนด์ หรือชื่อเสียงของบริษัทในเชิงลบ เช่น พฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมของ
ผู้บริหาร คุณภาพของสินค้าหรือการให้บริการที่ไม่ได้มาตรฐาน การรั่วไหลของข้อมูลลูกค้า
8. ความเสี่ยงด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology Risk) หมายถึง ความเสี่ยงที่เกิด
ึ
จากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการดำเนินธุรกิจ รวมถงความเสี่ยงที่เกิดจากภัยคุกคามทางไซเบอร์ เช่น การขาด
ี
แคลนระบบเทคโนโลยสารสนเทศที่สามารถสนับสนุนการประกอบธุรกิจในอนาคตได้ การรั่วไหลของข้อมูล
การหยุดชะงักของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศจากการโจมตีทางไซเบอร์
9. ความเสี่ยงด้านมหันตภัย (Catastrophe Risk) หมายถึง ความเสี่ยงที่ก่อให้เกิดการจ่าย
่
่
ี
ค่าสินไหมทดแทนเบยงเบนไปจากที่ได้มีการคาดการณ์ไว้เป็นอย่างมาก เช่น แผนดินไหว มหาอุทกภัย โรคระบาด
ความเสี่ยงด้านมหันตภัยถือได้ว่าเป็นความเสี่ยงด้านประกันภัยซึ่งมีการเบี่ยงเบนของความรุนแรงที่เกิดขึ้นในระดับที่
สูงมาก
รูปภาพที่ 12-2 ความเชื่อมโยงของการบริหารความเสี่ยงและการดำเนินธุรกิจ
10. ความเสี่ยงภายในกลุ่มธุรกิจ (Group Risk) หมายถึง ความเสี่ยงที่บริษัทอาจได้รับผลกระทบเชิงลบ
จากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นโดยตรงหรือโดยอ้อมกับบริษัทที่อยู่ภายในกลุ่มธุรกิจเดียวกัน การบริหารความเสี่ยงนั้น ไม่ใช่เป็นเรื่องของแนวคิด หรือกระบวนการทำงานที่แยกออกมาจาก
การดำเนินธุรกิจ แต่เป็นสิ่งที่ถักทอผสมผสานอยู่ในเนื้อในของการกำหนดกลยุทธ์และการดำเนินธุรกิจในทุกกิจกรรม
์
ึ
ุ
11. ความเสี่ยงอบัติใหม่ (Emerging Risk) หมายถง ความเสี่ยงที่ยังไม่ปรากฏขึ้นในปัจจุบันแต่อาจจะ และกระบวนการ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ การกำหนดอัตราเบี้ยประกันภัย
เกิดขึ้นได้ในอนาคตเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม การพิจารณารบประกนภัย การเก็บเบี้ยประกันภัย การจัดการค่าสินไหมทดแทน การประกันภัยต่อ การตลาด
ั
ั
ความเสี่ยงประเภทนี้เกิดขึ้นอย่างช้า ๆ ยากที่จะระบุได้ มีความถี่ของการเกิดต่ำ แต่เมื่อเกิดขึ้นแล้วจะสงผลกระทบ การลงทุน การบริหารสินทรัพย์และหนี้สิน บญชีการเงน การจดการเทคโนโลยีสารสนเทศ และการใช้บรการจาก
ั
่
ั
ิ
ิ
อย่างรุนแรง บุคคลภายนอก ฯลฯ
ในการดำเนนงานขององคกรใด ๆ ก็ตามซึ่งรวมถึงบริษัทประกันภัยด้วยนั้น ควรเริ่มต้นด้วยการกำหนด
์
ิ
ิ
ุ
ความเสี่ยงอบัติใหม่ถือเป็นความเสี่ยงที่ยากต่อการบริหารจัดการและคาดการณ์ถึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น ทิศทางหรอภาพขององค์กรในอนาคตที่เรียกว่าวสัยทัศน์ (Vision) วิสัยทัศน์เป็นจุดหมายปลายทางที่บริษัท
ื
ุ
เนื่องจากเป็นความเสี่ยงที่ยังไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน ด้วยเหตุนี้ การติดตามและวิเคราะห์ถึงการเปลี่ยนแปลงทาง ประกันภัยต้องการจะให้เกิดขึ้นหรือต้องการจะบรรลในอนาคต และจะเป็นสิ่งที่กำหนดพันธกิจ (Mission) ซึ่งเป็น
ั
ื่
เศรษฐกิจ สังคม การเมือง เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม เพอให้ทราบถึงพฒนาการของการเปลี่ยนแปลงนี้จึงเป็นสิ่ง พันธะสัญญาของบริษัทประกนภัยที่มีต่อผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียหลัก (ผู้กำกับดูแล ผู้เอาประกันภัย นักลงทุน ผู้บริหาร
ั
้
สำคัญ พนักงาน คู่ค้า และสังคม) ซึ่งพนธกิจนี้เป็นสิ่งที่กำหนดขอบเขตหน้าที่ที่ผู้บริหารและบุคลากรภายในบริษัทจะตอง
ั
่
การแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ที่เกิดขึ้น ถือเป็นตัวอย่างของความเสี่ยง ประพฤติปฏิบัติเพอให้บรรลุวิสัยทัศน์ได้ในที่สุด ทั้งนี้ บริษัทประกันภัยจะต้องมีการกำหนด
ื่
ื
่
อุบัติใหม่ที่ส่งผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจโลก ระบบเศรษฐกิจไทย และธุรกิจประกันภัยไทยอยางรุนแรง กลยุทธ์ (Strategy) ซึ่งเป็นแผนการ หรอทิศทางการดำเนนงานที่ชัดเจนเพอให้บริษัทสามารถดำเนนการเพ่อให ้
ิ
ื่
ื
ิ
ตัวอย่างของความเสี่ยงอบัติใหม่ที่บริษัทประกันภัยควรให้ความสำคัญ ได้แก่ การเปลี่ยนแปลงของสภาวะ บรรลุวิสัยทัศน์และพันธกิจได้
ุ
ภูมิอากาศ ความม่นคงปลอดภัยไซเบอร์ ปัญญาประดิษฐ์และควอนตัมเทคโนโลยี เสถียรภาพทางภูมิรัฐศาสตร์
ั
เศรษฐกิจมหภาค โรคระบาดและโรคติดต่อ เป็นต้น
ํ
ิ
ิ
ลขสทธของสมาคมประกนวนาศภยไทย หามนาไปใช้ในการแสวงหากําไรทางการคา ้
ิ
์
ั
้
ั
ิ