Page 170 - InsuranceHandbook
P. 170
บทที่ 12 การบริหารความเสี่ยงของบริษัทประกันภัย 151
3. การพิจารณารับประกันภัย
การบริหารความเสี่ยงเพอให้การพจารณารับประกันภัยมีการตรวจสอบข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล และจำแนก
ื่
ิ
ความเสี่ยงของลูกค้าได้อย่างเหมาะสม และรับประกันภัยในอัตราที่เหมาะสมกับความเสี่ยงของลูกค้าแต่ละราย
4. การประเมินสำรองประกันภัย
ื่
ิ
การบริหารความเสี่ยงเพอให้การคำนวณเงนสำรองที่บริษัทจะต้องดำรงไว้สำหรับภาระผูกพนที่มีทั้งใน
ั
ี
ปัจจุบันและอนาคต มีความรอบคอบ เพยงพอ และเหมาะสม
5. การบริหารจัดการค่าสินไหมทดแทน
การบริหารความเสี่ยงเพื่อให้การจัดการค่าสินไหมทดแทนมีความรอบคอบ รวดเร็ว และเป็นธรรม
6. การประกันภัยต่อ
การบริหารความเสี่ยงเพอให้โปรแกรมการประกันภัยต่อของบริษัทเหมาะสมกับขนาด ความซับซ้อน
ื่
ลักษณะการประกอบธุรกิจ ฐานะเงินกองทุน และความสามารถในการรับความเสี่ยงของบริษัท
7. การลงทุนประกอบธุรกิจอื่น
ื่
ุ
การบริหารความเสี่ยงเพอให้การลงทนและการประกอบธุรกจอนมีความรอบคอบ และมีการพจารณา
ิ
ื่
ิ
ความเสี่ยงจากการลงทุนและผลตอบแทนที่จะได้รับควบคู่กัน
8. การบริหารสินทรัพย์และหนี้สน
ิ
การบริหารความเสี่ยงเพื่อให้การประเมินมูลค่าของสินทรัพย์และหนี้สิน รวมถงภาระผูกพนที่อาจจะมีขนใน
ึ้
ั
ึ
อนาคต มีความสอดคล้องกัน
9. การใช้บริการจากบุคคลภายนอก
การบริหารความเสี่ยงเพื่อให้การใช้บริการจากบุคคลภายนอกมีมาตรฐานในการปฏิบัติงานและคุณภาพตาม
คาดหวัง
7. การประเมินความเสี่ยงและความมั่นคงทางการเงิน
ี
่
ั
การประเมินความเสยงและความมนคงทางการเงิน (Own Risk and Solvency Assessment: ORSA)
่
เป็นการบูรณาการการบริหารความเสี่ยง การบริหารเงินกองทุน และกลยุทธ์ทางธุรกิจเข้าด้วยกัน โดยเน้น
ั
ั
ิ
่
ความเสี่ยงซึ่งคาดการณ์ว่าจะส่งผลกระทบตอเงินกองทุนและฐานะการเงนของบริษทประกนภัยในอนาคตอย่างมี
นัยสำคัญ
ั่
การประเมินความเสี่ยงและความมนคงทางการเงินเป็นกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์เชิงกลยุทธ์
ี
และการตัดสินใจเพอที่จะประเมินความเพยงพอของการบริหารความเสี่ยงและเงินกองทุนในปัจจุบัน ตลอดจน
ื่
ความแขงแกรงและความยืดหยุ่นทางการเงิน ความมั่นคงทางการเงิน และเงินกองทุนของบริษัทในปัจจุบันและใน
็
่
อนาคต โดยพจารณาทั้งในกรณีการดำเนินธุรกิจตามปกติและกรณีที่เกิดภาวะวิกฤตหรือเกิดเหตุการณ์ซึ่งอาจส่งผล
ิ
่
กระทบต่อบริษัทอย่างมีนัยสำคัญ เพอให้บริษัทประกันภัยทราบว่าความเสี่ยงของบริษัทในรปแบบตางๆ น้นม ี
ั
ื่
ู
เงินกองทุนมารองรับอย่างเพียงพอแล้วหรือไม่ บริษัทมีการจัดสรรเงินกองทุนอย่างเหมาะสมเพยงใด และความเสี่ยง
ี
ื่
ของบริษัทถูกบริหารจัดการให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้แล้วหรือไม่ และใช้กลไกการให้ข้อมูลป้อนกลับเพอให้เกิด
การบูรณาการระหว่างการบริหารความเสี่ยง การบริหารเงินกองทุน และกลยุทธ์ทางธุรกิจ
ิ
์
ิ
ลขสทธของสมาคมประกนวนาศภยไทย หามนาไปใช้ในการแสวงหากําไรทางการคา ้
ิ
้
ํ
ั
ั
ิ