Page 176 - InsuranceHandbook
P. 176
บทที่ 13 อัตราส่วนทางการเงินที่ส�าคัญของบริษัทประกันภัย 157
1.1 อัตราส่วนการเติบโตของเบี้ยประกันภัย (Premium Growth) 1.5 อัตราส่วนรวม (Combined Ratio)*
เบี้ยประกันภัยรับรวมปีปัจจุบัน− เบี้ยประกันภัยรับรวมปีก่อนหน้า อัตราส่วนรวม = อัตราส่วนค่าสินไหมทดแทน + อัตราส่วนค่าใช้จ่ายดำเนินงาน
อัตราส่วนการเติบโตของเบี้ยประกันภัย = × 100
เบี้ยประกันภัยรับรวมปีก่อนหน้า
การวิเคราะห์: เพื่อดูอัตรากำไรจากการประกันภัย หากเกิน 100 คือขาดทุน
เกณฑ์มาตรฐาน: ≤ 100%
การวิเคราะห์: เพื่อดูการเติบโตของธุรกิจ
เกณฑ์มาตรฐาน: ระดับเดียวกับอัตราการเติบโตของอุตสาหกรรม 1.6 ผลตอบแทนจากการลงทุน (Investment Yield)
1.2 อัตราส่วนที่บริษัทรับเสี่ยงภัยไว้เอง (Risk Retention) ผลตอบแทนจากการลงทุน = รายได้จากการลงทุน∗∗ × 100
ค่าเฉลี่ยสินทรัพย์ลงทุนทั้งปี
เบี้ยประกันภัยรับสุทธิ **รายได้จากการลงทุน เช่น ดอกเบี้ย ค่าเช่า เงินปันผล กำไรหรือขาดทุนจากการจำหน่ายสินทรัพย์ลงทุน
อัตราส่วนที่บริษัทรับเสี่ยงภัยไว้เอง = × 100
เบี้ยประกันภัยรับรวม
์
การวิเคราะห: เพื่อประเมินผลตอบแทนจากการลงทุน หากบริษัทมีผลตอบแทนจากการลงทุนที่สูงมาก
หมายความว่าบริษัทได้ลงทุนในสินทรัพย์ที่ค่อนข้างมีความเสี่ยงซึ่งหากอยู่ในสภาวะเศรษฐกิจที่ตกต่ำจะทำให้บริษัท
มีผลตอบแทนที่ติดลบได้
์
การวิเคราะห: เพื่อดูความเสี่ยงที่เหลืออยู่กับธุรกิจ ซึ่งการประกันภัยต่อเป็นกลยุทธ์สำคัญในการบริหาร เกณฑ์มาตรฐาน: ≥ อัตราดอกเบี้ยนโยบาย
ความเสี่ยงจากการรับประกันภัย โดยส่วนใหญ่หากเป็นการรับประกันภัยรายบุคคล (Personal Line) จะไม่ค่อยม ี
การเอาประกันภัยต่อเพราะมีการกระจายความเสี่ยงไปแล้ว ดังนั้น Risk Retention จะสูง ในทางตรงข้าม การรับ 1.7 อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น (Return On Equity: ROE)*
ประกันภัยเชิงพาณิชย์จะมีการเอาประกันภัยต่อเพื่อลดความเสี่ยง ดังนั้น Risk Retention จะต่ำ
เกณฑ์มาตรฐาน: แล้วแต่ลักษณะของธุรกิจ อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น = กำไรสุทธิหลังหักภาษี × 100
ส่วนของผู้ถือหุ้นต้นงวดหลังหักเงินปันผลจ่ายระหว่างปี
1.3 อัตราส่วนค่าสินไหมทดแทน (Loss Ratio)*
การวิเคราะห์: เพื่อประเมินผลตอบแทนจากการลงทุนของผู้ถือหุ้น
ค่าสินไหมทดแทนสุทธิ เกณฑ์มาตรฐาน: ≥ 0%
อัตราส่วนค่าสินไหมทดแทน = × 100
เบี้ยประกันภัยที่ถือเป็นรายได้สุทธิ
2. อัตราส่วนสภาพคล่อง
สภาพคล่องที่ดีช่วยให้บริษัทประกันภัยสามารถปฏิบัติตามภาระผูกพันที่มีต่อผู้เอาประกันภัยได้อย่าง
ื
ิ
การวิเคราะห์: เพื่อดูอัตราค่าสินไหมทดแทนต่อเบี้ยประกันภัยที่ถอเป็นรายได้ ทันท่วงที สภาพคล่องของบริษัทประกันภัยขึ้นอยู่กับนโยบายการลงทุน โดยผู้บริหารสามารถจัดสรรเงินให้เกด
เกณฑ์มาตรฐาน: ≤ 60% ประโยชน์สูงสุดได้โดยเลือกลงทุนในสินทรัพย์ที่มีความคล่องตัวสูงและยงมีผลตอบแทนตามตลาด เช่น พันธบัตร
ั
รัฐบาล หรืออาจมีการแบ่งเงินลงทุนบางส่วนไปลงทุนในสินทรัพย์ที่ให้ผลตอบแทนสูงขึ้นแต่สภาพคล่องลดลงบ้าง
1.4 อัตราส่วนค่าใช้จ่ายดำเนินงาน (Operating Expense Ratio)* เช่น หุ้นกู้บริษัทเอกชนต่าง ๆ แต่หากผู้บริหารเลือกลงทุนในสินทรัพย์ที่มีสภาพคล่องต่ำมาก เช่น อสังหาริมทรัพย์
หรือหุ้นทุนที่ไมจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ในระดับที่สูงเกินไป อาจทำให้บริษัทประกันภัยไม่สามารถเปลี่ยน
่
ค่าบำเหน็จสุทธิ+ ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน สินทรัพย์เหล่านั้นเป็นเงินเพื่อชำระค่าสินไหมทดแทนได้ ความสามารถในการเก็บเบี้ยประกันภัยก็มีความสำคญ
ั
อัตราส่วนค่าใช้จ่ายดำเนินงาน = × 100
ุ
เบี้ยประกันภัยที่ถือเป็นรายได้สุทธิ เช่นกันเพราะหากมีลูกหนี้ที่สูงเกินไปจะทำให้บริษัทมีความเสี่ยงด้านหนี้สูญเพิ่มขึ้นและอาจมีผลกระทบต่อเงินทน
หมุนเวียนของบริษัทได้
์
การวิเคราะห: เพื่อดูประสิทธิภาพในการบริหารงาน ในบางกรณี หากบริษัทมีนโยบายการบัญชีที่รับรู้คา ดังนั้น อัตราส่วนสภาพคล่องที่ดีควรจะสอดคล้องกับความเสี่ยงที่มีอยู่ การมีสภาพคล่องสูงเกินไปก็ไม่เป็น
่
้
บำเหน็จเป็นค่าใช้จ่ายทันทีอาจต้องเปลี่ยนจากเบี้ยประกันภัยที่ถือเป็นรายได้สุทธิ เป็นเบี้ยประกันภัยรับสุทธิ ผลดีเพราะอาจทำให้ผลตอบแทนจากการลงทุนลดลงได้และทำใหอัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น (ROE) ลดลงด้วย
เกณฑ์มาตรฐาน: ≤ 40% เช่นกัน อัตราส่วนที่สำคัญมีดังนี้
้
ํ
ิ
์
ลขสทธของสมาคมประกนวนาศภยไทย หามนาไปใช้ในการแสวงหากําไรทางการคา ้
ิ
ิ
ั
ิ
ั