Page 180 - InsuranceHandbook
P. 180

3.4 อัตราส่วนพัฒนาการของสำรองค่าสินไหมทดแทน 1 ปี    บทที่ 14
    (Change in claim development reserve 1 year)*   การลงทนของบริษัทประกันภัย
                                                     ุ

 อัตราส่วนพัฒนาการของสำรองค่าสินไหมทดแทน 1 ปี =
 [Ultimate Claim Incurred ณ ปีปัจจุบัน (ที่ไม่รวมปีอุบัติเหตุล่าสุด)                         ศิริ สวรรค์พรเพ็ญ
                                                  – Ultimate Claim Incurred ณ ปีก่อนหน้า]                       X 100
                                                                       TCAปีปัจจุบัน
                                                                                ่
                                                                                ี
                     เนื่องจากธุรกิจประกันภัยเรียกเก็บเบี้ยประกันภัยเป็นรายปี ในขณะทการจ่ายสินไหมทดแทนมีความไม ่
              แน่นอน ดังนั้น บริษัทประกันภัยจึงควรหาดอกผลจากเบี้ยประกันภัยที่ได้รับมาเพื่อเป็นการเพิ่มรายได้ให้บริษัท แต่
                                                                                                          ิ
                                                                                                           ั
    การวิเคราะห: เพื่อตรวจสอบอัตราการประมาณการของสำรองค่าสินไหมทดแทนที่เปลี่ยนแปลงไปตอ  เนื่องจากการลงทุนมีความเสี่ยง หากบริษัทไปลงทุนในสินทรัพย์ที่ด้อยคุณภาพหรือมีความเสี่ยงสูงอาจทำให้บรษท
 ์
 ่
                                                             ้
                                                             ี
 เงินกองทุนที่สามารถนำมาใช้ได้ทั้งหมด   สูญเสียเงินต้นและมีปัญหาสภาพคล่องในที่สุด ด้วยเหตุน สำนักงานคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบ
    เกณฑ์มาตรฐาน: -20% ≤ R ≤ 20%   ธุรกิจประกันภัย (คปภ.) จึงได้ออกประกาศเรื่อง การลงทุนประกอบธุรกิจอื่นของบริษัทประกันวินาศภัย โดยมี
              ประกาศทั้งหมด 2 ฉบับ คือ การลงทุนประกอบธุรกิจอื่นของบริษัทประกันวินาศภัย พ.ศ. 2556 ลงวันที่ 30 กันยายน
 หมายเหตุ * เป็นอัตราส่วนและเกณฑ์มาตรฐานที่สำนักงานคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบ   พ.ศ. 2556 และ การลงทุนประกอบธุรกิจอื่นของบริษัทประกันวินาศภัย (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 ลงวันที่ 12
                                                                     ี
                ธุรกิจประกันภัย (คปภ.) ใช้เพื่อดูแลและกำกับบริษัทประกันวินาศภัย   กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558 โดยเนื้อหาหลัก ๆ ของประกาศทั้ง 2 ฉบับมดังนี้


              การลงทุนประกอบธุรกิจอื่นของบริษัทประกันวินาศภัย
                     1. คณะกรรมการลงทุน
                     ประกาศฯ กำหนดให้บริษัทต้องจัดให้มีคณะกรรมการลงทุน ซึ่งได้รับการแต่งตั้งจากคณะกรรมการบริษท
                                                                                                           ั
              จำนวนไม่น้อยกว่าสามคนโดยต้องเป็นบุคคลที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์เป็นเวลาไม่น้อยกว่าสามปี

                                                                                     ึ
                                                                                   ์
              เกี่ยวกับการบริหารการลงทุน การบริหารความเสี่ยง หรือการวิเคราะห์หลักทรัพย ซงอาจเป็นกรรมการ ผู้บริหาร
                                                                                     ่
              ของบริษัท หรือบุคคลภายนอกก็ได โดยคณะกรรมการลงทุนมีหน้าที่หลักคือจัดทำนโยบายการลงทุนและอนุมัต   ิ
                                            ้
              แผนการลงทุน โดยประกาศฯ ได้กำหนดประเภทสินทรัพย์และสัดส่วนการลงทุนไว้เพื่อเป็นขอบเขตการลงทุนท    ี ่
              บริษัทประกันภัยสามารถลงทุนได้
                     2. การฝากเงินไว้กับสถาบันการเงิน
                     เงินฝากสถาบันการเงินจะประกอบไปด้วย เงินฝากประเภทออมทรัพย์ กระแสรายวัน และประจำ โดย
              บริษัทสามารถฝากเงินกับสถาบันการเงินและธนาคารในประเทศไทยได้ไม่จำกัด ทั้งนี้การฝากเงินในต่างประเทศม ี
                                                                                             ื่
              ข้อจำกัดโดยสามารถฝากได้กับธนาคารเท่านั้นและต้องเป็นเงินฝากระยะสั้นและมีวัตถุประสงค์เพอการดำเนินงานใน
              ต่างประเทศของบริษัทเท่านั้น
                     3. ตราสารหนี้
                                                       ่
                     ตราสารหนี้แบ่งออกเป็น 3 ประเภทใหญ ๆ ได้แก่ ตราสารหนี้ภาครัฐ ตราสารหนี้เอกชน และตราสารหน ้ ี
              ต่างประเทศ โดยบริษัทสามารถลงทุนในตราสารหนี้ภาครัฐได้ไม่จำกัด ในขณะที่ตราสารหนี้เอกชนนั้นสามารถลงทุน
              ได้ไม่เกินร้อยละ 60 ของสินทรัพย์ลงทุนทั้งหมดและลงทุนในตราสารหนี้ต่างประเทศได้ไม่เกินร้อยละ 15 ของ
              สินทรัพย์ลงทุนทั้งหมด ทั้งนี้การลงทุนในต่างประเทศนั้นต้องรวมการลงทุนทุกประเภท
                     4. ตราสารหนี้กึ่งทุน

                     เป็นตราสารที่ออกโดยบริษัทจำกัดที่มีอันดับความน่าเชื่อถือไม่ต่ำกว่า BBB และเป็นตราสารที่ขึ้นทะเบียน
              ในสมาคมตลาดตราสารหนี้ไทย และเป็นตราสารที่มีราคาเหมาะสมตามที่สมาคมตลาดตราสารหนี้ไทยกำหนด






                                    ิ
                                   ลขสทธของสมาคมประกนวนาศภยไทย หามนาไปใช้ในการแสวงหากําไรทางการคา ้
                                      ิ
                                                    ิ
                                                             ้
                                                        ั
                                                  ั
                                       ิ
                                       ์
                                                               ํ
   175   176   177   178   179   180   181   182   183   184   185