Page 13 - InsuranceJournal127
P. 13

วิชาการ IPRB




                 5)  Text Mining
                 กระบวนการด้านค่าสินไหมทดแทนนั้นมีการสร้างและเก็บสะสมข้อมูลสารสนเทศที่อยู่ในรูปแบบข้อความ (text) ไว้มากมาย เช่น ข้อมูล

          ข้อสังเกตของ Loss Adjuster อีเมล บันทึกข้อมูลจากลูกค้าที่โทรเข้า call center การสัมภาษณ์ผู้เรียกร้องค่าสินไหมทดแทน เป็นต้น ซึ่งในความ
          เป็นจริงข้อมูลประเภททไม่มีรูปแบบ (Unstructured Data) ในกระบวนการด้านค่าสินไหมทดแทนมีมากถึง 80% ซงซอฟต์แวร์ทเกยวข้องกับการ
                                                                                                    ี่
                                                                                                      ี่
                                                                                           ึ่
                          ี่
          ค้นหาความสัมพันธ์ในฐานข้อมูลเอกสาร หรือการท�าเหมืองข้อความ (Text Mining) นั้นพัฒนาเกี่ยวกับข้อมูลประเภทที่ไม่มีรูปแบบด้วยเช่นกัน
          ซึ่งเป็นการกลั่นกรองข้อมูลที่มีประโยชน์และวิเคราะห์ข้อมูลใหม่ ๆ ที่ท�าให้เข้าใจการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนนั้น ๆ ได้มากขึ้น เช่น ใช้ Text
          Mining ตรวจสอบข้อคิดเห็นกรณีอุบัติเหตุทางรถยนต์ โดยการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนนั้นมีความน่าสงสัย ตรงที่ผู้เรียกร้องค่าสินไหมทดแทน
                                                                                                      �้
          หลายคนที่ไม่มีความเกยวโยงกันเลย แต่ให้ความคิดเห็นที่เหมือนกันทุกอย่างเกินไป อีกกรณีเช่น การเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนเรองนาท่วมจากภัย
                         ี่
                                                                                                   ื่
          ธรรมชาติ แต่ไม่มีเพื่อนบ้านคนใดในละแวกเดียวกันเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนเลย เป็นต้น วิธีการวิเคราะห์นี้มีประโยชน์ในการตรวจสอบกรณีที่
          มีความแตกต่างกันระหว่างสองสิ่งที่เหมือนกัน ซึ่ง Text Mining มีประโยชน์มากเมื่อน�าไปประยุกต์ร่วมกับ Social Network Analysis โดยผู้
          สืบสวนสามารถค้นหาข้อมูลได้จาก Facebook Youtube และ Social Media อื่น ๆ เพื่อช่วยในการแยกแยะหลักฐานข้อมูลของผู้เรียกร้องค่า

          สินไหมทดแทน
































                 นอกจากนี้ ยังมีเทคนิควิเคราะห์อื่น ๆ ที่น่าสนใจซึ่งใช้ตรวจจับการฉ้อฉล ได้แก่
                 o  Calculation of Statistical Parameters เช่น การหาค่าเฉลี่ย (Average) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)
         และ high/low values เป็นต้น ค่าเหล่านี้ใช้เพื่อระบุค่าผิดปกติทางสถิติซึ่งบ่งชี้ถึงการฉ้อฉล
                 o  Classification ใช้หารูปแบบท่ามกลางข้อมูลมากมาย
                 o  Digital Analysis โดยใช้กฎเบนฟอร์ด เพื่อระบุตัวเลขที่แสดงเหตุการณ์เหนือความคาดหมายจากข้อมูล
                 o  Joining Different Diverse Source จับคู่ข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่แตกต่างกัน เช่น ชื่อ ที่อยู่ และเลขที่กรมธรรม์ แล้วระบุข้อมูลที่

         ไม่ควรจะเกิดขึ้น
                 o  Duplicate Testing ระบุรายการธุรกรรมซ�้า เช่น การจ่ายค่าสินไหมทดแทน หรือรายงานค่าใช้จ่าย
                 o  Gap Testing ระบุข้อมูลใดหายไปจากข้อมูลที่มีผลสืบเนื่อง
                 o  Summing of Numeric Values ระบุผลรวมทั้งหมดที่แสดงผลว่าไม่ถูกต้องออกมา
                 o  Validating Entry Dates ระบุเวลาที่ต้องสงสัยจากการรายงาน





                                                                       วารสารประกันภัย  เดือนเมษายน-มิถุนายน 2558  13
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18