Page 12 - InsuranceJournal127
P. 12
วิชาการ IPRB
3) แบบจ�าลองเชิงพยากรณ์ (Predictive Modeling) หรือ Advanced Analytics
ี้
ในช่วง 2-3 ปีมาน Predictive Modeling ได้รับความสนใจและน�าไปประยุกต์ใช้กับงานหลายด้าน รวมถึงเรองการตรวจสอบ Insurance
ื่
ิ
ิ
ื่
ู้
Fraud การวิเคราะห์วธีนี้จะเป็นการวเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณและใช้ความรด้าน data mining เป็นเครองมือในการสร้างโปรแกรมที่แสดงคะแนน
เพื่อการวิเคราะห์ความแนวโน้มของการฉ้อฉล
้
้
Predictive Modeling มีความโดดเด่นเรื่องความแมนย�าของกระบวนการตรวจสอบการฉ้อฉล ดวยการวิเคราะห์ขอมูลสารสนเทศที่มา
่
จากแหล่งข้อมูลหลายแหล่ง อย่างไรก็ดี แบบจาลองนี้ยังไม่สามารถใช้ได้กับการตรวจสอบการเรียกร้องสินไหมทดแทนในทุกกรณี เพราะการฉ้อฉล
�
นั้นมีการดัดแปลงสร้างเทคนิคใหม่ ๆ โดยตลอด ท�าให้แบบจ�าลองต้องได้รับการพัฒนาปรับปรุงอย่างต่อเนื่องเช่นเดียวกัน
4) การวิเคราะห์เครือข่ายทางสังคม (Social Network Analysis)
Social Network Analysis คือการน�าข้อมูลมาสร้างความสัมพันธ์กัน เป็นแหล่งข้อมูลที่มีประสิทธิภาพในการช่วยให้บริษัทประกันภัย
สามารถตรวจสอบพฤติกรรมการฉ้อฉล โดยพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทน เช่น ในเหตุการณ์
ี่
อุบัติเหตุ บริษัทประกันภัยจะได้รับข้อมูลสถานทเกิดอุบัติเหตุ ที่อยู่ของผู้เอาประกันภัย เบอร์โทรศัพท์ และทะเบียนรถ ซงเมื่อน�าข้อมูลไปวิเคราะห์
ึ่
ด้วย Social Network Analysis ตามรูปที่ 2 พบว่าที่อยู่ของผู้เอาประกันภัยในอุบัติเหตุครงนี้ไปเชอมโยงกับการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนอื่น ๆ
ั้
ื่
อีกมากมาย ซึ่งบริษัทประกันภัยสามารถน�ากรณีการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนนี้ไปสืบสวนเพิ่มเติม เป็นต้น
Social Network Analysis ท�างานแบบอัตโนมัติเต็มรูปแบบ สามารถเข้าถึงข้อมูลที่มีอยู่เป็นปัจจุบันจากการเชื่อมโยงทางอินเทอร์เน็ต
ท�าให้สามารถให้คะแนนการตรวจสอบพฤติกรรมการฉ้อฉลได้เรอย ๆ เมื่อมีข้อมูลการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนและกรมธรรม์ใหม่เข้ามาในระบบ
ื่
ู
็
การตรวจสอบสามารถค้นหาข้อมูลของลูกค้าผ้เอาประกนภยได้อย่างรวดเรว และยังสามารถตรวจพบจดเชื่อมโยงท่ามกลางข้อมลมากมาย
ุ
ู
ั
ั
เหล่านี้ อย่างไรก็ดี ถึงแม้จะมีเครื่องมือการวิเคราะห์แบบนี้อยู่ ผู้รับประกันภัยก็ยังต้องมีผู้วิเคราะห์ที่มีความช�านาญเพื่อช่วยเติมเต็มชิ้นส่วนของ
หลักฐานจากข้อมูลมากมายและน�าไปสืบสวนต่อไป
ึ่
วิธีการวิเคราะห์นี้ถูกใช้ในหลายองค์กร ซงสามารถระบุการฉ้อฉลส�าหรับน�าไปดาเนินการต่อได้อย่างเหมาะสม นอกจากจะช่วยให้บริษัท
�
้
่
่
ประกันภัยหลีกเลี่ยงการจายคาสินไหมทดแทนที่เกิดจากการฉ้อฉลแล้ว ยังชวยตรวจสอบกรมธรรมใหมจากประวัติขอมูลเครือขาย เพื่อหลีกเลี่ยง
์
่
่
่
การเพิ่มจ�านวนการฉ้อฉลได้ด้วย
รูปที่ 2: แสดงการท�างานของโปรแกรม Social Network Analysis
12 วารสารประกันภัย ฉบับที่ 127