Page 6 - InsuranceJournal130
P. 6
เรื่องเด่น
ส�านักงาน คปภ. มีแนวทางอย่างไรในการเพิ่มอัตราการเติบโตของธุรกิจประกันวินาศภัย:
ในปี 2559 ส�านักงาน คปภ. ได้วางมาตรการในการพัฒนาธุรกิจประกันวินาศภัยไว้หลายประการ ซึ่งล้วนเป็นไปตามแผนพัฒนาการ
ประกันภัย ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2559 – 2563) โดยมีเป้าหมายหลักในการขับเคลื่อนระบบประกันภัยไทยให้เติบโตอย่างยั่งยืนและได้รับความเชื่อถือ
�
ั
ไว้วางใจจากประชาชน โดยคาดหวังให้ระบบประกันภัยมีความม่นคง และดาเนินธุรกิจอย่างมีประสิทธิภาพ สามารถแข่งขันได้ในตลาดเสร ี
ซึ่งมาตรการพัฒนาธุรกิจประกันวินาศภัยที่ส�าคัญประกอบด้วย
้
ิ
่
ี
ื
ั
ี
กำรส่งเสริมพัฒนำผลิตภัณฑ์ประกันภัยให้สอดคล้องกับควำมต้องกำรและควำมเส่ยง เพอใหผลตภณฑประกนภยมความหลากหลาย
์
ั
ั
สอดคล้องกับสภาพความเส่ยงและความต้องการของประชาชน โดยเฉพาะอย่างย่ง กำรส่งเสริมกำรพัฒนำผลิตภัณฑ์ประกันสุขภำพ
ี
ิ
ื
�
ื
ี
�
โดยทาการศึกษาวิจัยเพ่อพัฒนาระบบประกันสุขภาพ เพ่อกาหนดแนวทางและดาเนินการพัฒนาระบบประกันสุขภาพท่มีประสิทธิภาพ
�
ั
ื
ึ
�
สาหรับประเทศไทย ซ่งระบบประกันสุขภาพเป็นส่วนสาคัญในการจัดการปัญหาสุขภาพข้นพ้นฐานของประชาชนรวมถึงภาครัฐ ประกอบ
�
ี
กับวิวัฒนาการทางการแพทย์ สภาพแวดล้อมและโครงสร้างประชากรท่เปล่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว จึงมีความจาเป็นอย่างย่งท่จะต้องมีการศึกษา
ี
ี
�
ิ
ื
ื
เพ่อพัฒนาระบบการประกันภัยสุขภาพ ไม่ว่าจะเป็นรูปแบบของผลิตภัณฑ์ประกันภัย หรือเคร่องมือรองรับต่าง ๆ เพ่อให้ระบบการประกันภัย
ื
สุขภาพมีความเหมาะสมและเป็นธรรมกับประชาชน สามารถช่วยลดปัญหาข้อโต้แย้งระหว่างผู้เอาประกันภัยและบริษัทประกันภัย อีกท้งยัง
ั
สามารถรองรับสังคมผู้สูงอายุของประเทศไทยในอนาคต และ กำรส่งเสริมกำรพัฒนำผลิตภัณฑ์ประกันภัยส�ำหรับรำยย่อย (ไมโครอินชัวรันส์)
เพ่อให้ประชากรส่วนใหญ่ของประเทศได้เข้าถึงการประกันภัย สามารถใช้การประกันภัยเป็นเคร่องมือในการสร้างหลักประกันความม่นคง
ื
ั
ื
ในชีวิตและทรัพย์สินด้วยตนเอง และยังเป็นการแบ่งเบาภาระของภาครัฐด้านสวัสดิสงเคราะห์ โดยการผลักดันให้บริษัทประกันภัยพัฒนาและ
�
ี
เสนอขายผลิตภัณฑ์ประกันภัยสาหรับรายย่อย ผ่านช่องทางการจัดจาหน่ายต่าง ๆ ท่สามารถตอบสนองการดาเนินชีวิตของประชาชน
�
�
ผู้มีรายได้น้อยให้มีปริมาณเพ่มมากย่งข้น รวมท้งพัฒนาและปรับปรุงแบบกรมธรรม์และอัตราเบ้ยประกันภัยสาหรับรายย่อย อาท ิ
ี
ิ
�
ั
ึ
ิ
พัฒนากรมธรรม์อัคคีภัยบ้านอยู่อาศัย (ไมโครอินชัวรันส์) ซ่งให้ความคุ้มครองภัยธรรมซาติ กรมธรรม์ประกันภัยข้าวนาปี (ดาเนินการต่อเน่อง)
ื
�
ึ
กรมธรรม์ประกันภัยส�าหรับรายย่อยแบบอื่น ๆ เช่น ประกันภัยส�าหรับพืชผล พืชเศรษฐกิจ ปศุสัตว์
ื
ิ
กำรพัฒนำช่องทำงกำรเข้ำถึงกำรประกันภัยผ่ำนส่ออิเล็กทรอนิกส์ เพ่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงการประกันภัยเพ่มข้น ซ่งจะ
ึ
ึ
ื
ื
มีการกาหนดหลักเกณฑ์มาตรฐานของกระบวนการขายผลิตภัณฑ์ประกันภัยผ่านส่ออิเล็กทรอนิกส์ เพ่อสร้างความเช่อม่นในการใช้บริการ
ั
ื
ื
�
ด้านการประกันภัยผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ โดยมีเกณฑ์การกากับและควบคุมท่เหมาะสม โดยจะมีการกาหนดแนวปฏิบัติและกฎเกณฑ์ต่าง ๆ
ี
�
�
ุ
่
ิ
ี
ั
ิ
�
่
ี
่
ุ
ั
�
ั
ี
�
่
ั
่
ื
ี
ทเกยวข้องสาหรบการกากบและการตรวจสอบการทาธรกรรมประกนภยผ่านสออเลกทรอนกส์ร่วมกบภาคธรกจและหน่วยงานทเกยวข้อง
็
ั
ิ
ทั้งส�านักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ส�านักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค และสมาคมประกันวินาศภัยไทย
กำรเสริมสร้ำงกำรแข่งขันผ่ำนกำรผ่อนคลำยกำรก�ำกับผลิตภัณฑ์ประกันภัย โดยผ่อนคลายกรอบการกากับราคาและผลิตภัณฑ์
�
ประกันภัยให้มีความยืดหยุ่นและอิงกลไกตลาดมากขึ้น (Detariffication) เพื่อให้ประชาชนได้รับประโยชน์จากราคาและคุณภาพของผลิตภัณฑ์
ประกันภัย และธุรกิจประกันภัยมีความสามารถในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ประกันภัยได้ตามความเสี่ยงและความเชี่ยวชาญของตนเอง
ั
ี
“ผมม่นใจว่ำนับจำกน้ไปธุรกิจประกันภัยจะเข้ำมำมีบทบำทส�ำคัญต่อระบบเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ในขณะเดียวกันก ็
ั
ิ
เป็นหลักประกันควำมม่งคงให้กับประชำชน ดังน้น จึงเป็นควำมท้ำทำยอย่ำงย่งในกำรพัฒนำธุรกิจประกันภัยให้ก้ำวสู่ควำมแข็งแกร่ง
ั
ื
ึ
มีคุณภำพ เสถียรภำพ และมีธรรมำภิบำล ซ่งส่งเหล่ำน้จะเกิดข้นได้จ�ำเป็นต้องอำศัยควำมร่วมมือจำกภำคเอกชนเป็นส�ำคัญเพ่อ
ิ
ึ
ี
ให้ธุรกิจประกันภัยเป็นที่พึ่งของประชำชนอย่ำงยั่งยืนต่อไป” ดร. สุทธิพล กล่าวในที่สุด
6 วารสารประกันภัย ฉบับที่ 130