Page 16 - InsuranceJournal139
P. 16
วิชาการ IPRB
รูปที่ 4 กราฟเปรียบเทียบผลกระทบของเพศและอายุผู้ขับขี่ ที่มีผลต่อต้นทุนความเสียหาย
บทสรุปและข้อเสนอแนะจากส�านักงานฯ
ความถูกต้อง (Accuracy) และความทันสมัย (Timeliness) ของข้อมูล เป็นปัจจัยหลักที่ช่วยให้การวิเคราะห์ข้อมูลมีความน่าเชื่อถือ
ื
ี
�
และมีประสิทธิภาพ นอกจากปัจจัยดังกล่าว สานักงานฯ มีความเห็นว่า ควรต้องพิจารณาถึงปัจจัยอ่น ท่คาดว่าจะมีผลกระทบต่อระดับต้นทุน
ความเสียหาย เช่น ประเภทการซ่อม (อู่ห้าง และ อู่ประกันภัย), ข้อมูลคุณลักษณะของรถยนต์ (แรงม้า, จ�านวนประตู, เกียร์), ข้อมูลการขับขี่
(ระยะทางที่ขับขี่, สถานที่ที่ขับขี่), ประวัติการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทน, ประวัติการเปลี่ยนแปลงบริษัทประกันภัย เป็นต้น นอกจากนี้ ยังมีข้อ
ื
ี
ี
�
กาหนดตามพิกัดอัตราเบ้ยประกันภัยปี 2548 บางประการท่เป็นอุปสรรคต่อการเก็บข้อมูลสถิติเพ่อนามาใช้วิเคราะห์ต้นทุนความเสียหาย เช่น
�
ึ
ี
ี
ื
�
�
ี
ี
ื
การอนุญาตให้สามารถไม่ระบุช่อผู้ขับข่ในกรมธรรม์ได้ ซ่งส่งผลให้ข้อมูลเพศและอายุของผู้ขับข่มีจานวนจากัด (มีเพียง 10% ท่ระบุช่อผู้ขับข่) จาก
ข้อจ�ากัดดังกล่าว ส่งผลให้ระดับต้นทุนความเสียหายส�าหรับปัจจัยผู้ขับขี่มีความผันผวนค่อนข้างมาก ซึ่งส�านักงานฯ มีความเห็นว่า ควรก�าหนด
ทุกกรมธรรม์ต้องระบุชื่อผู้ขับขี่
ทังน บริษทประกันภัยทมีความประสงค์จะใช้งานโปรแกรมคานวณต้นทุนความเสยหายอ้างองของสานักงานฯ สามารถดาวน์โหลด
้
�
ิ
ั
�
ี
่
ี
้
ี
โปรแกรมดังกล่าวได้ที่ https://info.tgia.org/logon/ โดย login เข้าสู่ระบบด้วยรหัสผู้ใช้งานของท่าน หรือกรณีที่ยังไม่มีรหัสผู้ใช้งาน สามารถ
กรอกแบบฟอร์มแสดงความประสงค์เข้าใช้งานได้ที่ https://info.tgia.org/logon/doc/FORM_IPRB.pdf
16 วารสารประกันภัย ฉบับที่ 139