Page 13 - InsuranceJournal139
P. 13
วิชาการ IPRB
ส�าหรับ โปรแกรมการค�านวณต้นทุนความเสียหายอ้างอิง แบบแยกประเภทการซ่อม ของรถยนต์นั่ง กรมธรรม์ประเภทที่ 1 (เวอร์ชั่น
ล่าสุด 1.0.0) นี้ ส�านักงานฯ ได้น�าข้อมูลการรับประกันภัยรถยนต์ภาคสมัครใจของบริษัทประกันวินาศภัยในประเทศไทยที่รับประกันภัยรถยนต์
ในระหว่างปี 2555 ถึง 2560 ไตรมาสที่ 1 (ข้อมูลสิ้นสุด ณ ปี 2560 ไตรมาสที่ 1) มาใช้ในการสร้างตัวแบบเชิงเส้นวางนัยทั่วไป โดยเลือกใช้ฟัง
ก์ชั่นการแจกแจงของความถี่ในการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทน (Claims Frequency) เป็นการแจกแจงปัวซอง (Poisson Distribution) และฟัง
ก์ชั่นการแจกแจงของความรุนแรงของค่าสินไหมทดแทน (Claims Severity) เป็นการแจกแจงแกมม่า (Gamma Distribution) โดยปัจจัยที่มีผล
ต่อต้นทุนความเสียหายมีทั้งสิ้น 15 ปัจจัย ซึ่งมีทั้งปัจจัยที่มีอยู่ในพิกัดอัตราเบี้ยประกันภัยรถยนต์ปี 2548 เช่น ลักษณะการใช้รถยนต์ อายุรถยนต์
ั
ุ
ั
ั
ั
ี
ื
ี
ิ
ี
ั
ั
ั
้
่
ี
ิ
ุ
ั
ี
ั
�
จานวนเงนเอาประกนภย และ ส่วนลดกล่ม ในส่วนของปัจจยทไม่มในพกดอตราเบยประกนภยรถยนต์ปี 2548 (หรอกรณปรบปรงให้ปัจจยมความ
ละเอียดมากกว่าเดิม) เช่น ขนาดรถยนต์ หรือ ปริมาตรกระบอกสูบ (เพิ่มจากเดิม 2 ช่วง เป็น 6 ช่วง) ข้อมูลผู้ขับขี่ (เดิมพิจารณาแค่อายุผู้ขับขี่
ที่ระบุที่น้อยที่สุด เพิ่มเป็นพิจารณาทั้งเพศและอายุของผู้ขับขี่ทั้งสองคน) จังหวัดจดทะเบียน (ปัจจัยใหม่) ประเภทของการซ่อม ยี่ห้อและลักษณะ
ตัวรถ (แบ่งย่อยให้ละเอียดกว่าเดิมซึ่งแบ่งเป็นกลุ่มรถ 5 กลุ่ม) เป็นต้น
สรุปผลการวิเคราะห์ (เฉพาะปัจจัยที่ไม่มีในพิกัดอัตราเบี้ยประกันภัยรถยนต์ปี 2548)
1. ผู้ผลิตและลักษณะตัวถังของรถยนต์ สานักงานฯ แบ่งผู้ผลิตรถยนต์ออกเป็นกลุ่ม 2 กลุ่มโดยพิจารณาจากราคาขายของรถยนต์ โดย
�
สามารถแบ่งกลุ่มของผู้ผลิตรถยนต์ได้เป็น รถที่ไม่ใช่รถยุโรป (Non EU) และ รถยุโรป (EU) และในส่วนของลักษณะตัวถังของรถยนต์ ส�านักงานฯ
ั
ั
พิจารณาจากลักษณะภายนอก โดยแบ่งได้เป็นหลายกลุ่ม เช่น รถยนต์น่ง (Sedan) รถยนต์น่งแบบมีประตูท้าย (Hatchback) รถยนต์อเนกประสงค์
สมรรถนะสูงขนาดเล็ก (Crossover) รถยนต์อเนกประสงค์สมรรถนะสูง (SUV) รถยนต์อเนกประสงค์ (MPV)
ั
ี
ื
็
ิ
(1) สาหรับรถท่ไม่ใช่รถยุโรป (Non EU) เม่อพิจารณาจากรูปท 1 จะเหนได้ว่า ต้นทุนความเสียหายของรถยนต์มน้นรูปแบบเม่อพจารณา
ื
�
ี
่
ี
ี
ตามลักษณะของตัวถังรถยนต์ (ในขณะท่ปัจจัยอ่นคงท่) กล่าวคือ รถยนต์ท่มีลักษณะตัวถังในกลุ่ม SUV และ MPV มีต้นทุนความเสียหายโดยเฉล่ย
ื
ี
ี
ี
น้อยกว่ากลุ่ม Sedan และ Hatchback
ส�านักงานฯ ได้พิจารณาอัตราส่วนค่าสินไหมทดแทน (Loss Ratio) ส�าหรับปี 2559 (ข้อมูลสิ้นสุด ณ ไตรมาสที่ 3 ปี 2560) ตามลักษณะ
ตัวถังของรถยนต์และพบว่าอัตราส่วนค่าสินไหมทดแทน ของรถยนต์ที่มีลักษณะตัวถังแบบ SUV, Crossover และ MPV มีอัตราส่วนค่าสินไหม
ทดแทนอยู่ในระดับท่ตากว่าร้อยละ 63 (อ้างอิงจากอัตราค่าใช้จ่ายและค่านายหน้ารวมกัน ในปี 2560 ท่ร้อยละ 37) ซ่งแสดงให้เห็นว่าเบ้ยประกัน
ี
�
่
ี
ี
ึ
ภัยส�าหรับรถยนต์กลุ่มดังกล่าว ยังอยู่ในระดับที่เพียงพอ ในขณะที่เบี้ยประกันภัยส�าหรับรถยนต์กลุ่มอื่นนั้นอยู่ในระดับที่ต�่าเกินไป
รูปที่ 1 กราฟเปรียบเทียบต้นทุนความเสียหาย ตามลักษณะตัวถังรถยนต์ ส�าหรับรถที่ไม่ใช่รถยุโรป
วารสารประกันภัย เมษายน - มิถุนายน 2561 13