Page 12 - InsuranceJournal139
P. 12
วิชาการ IPRB
โปรแกรมการค�านวณต้นทุนความเสียหายอ้างอิง
แบบแยกประเภทการซ่อม
ของรถยนต์นั่ง กรมธรรม์ประเภทที่ 1
(IPRB RLC2018 Version 1.0.0) พร้อมบทวิเคราะห์
โดย วรสิทธิ์ ฐิติธนการ, ASA และ
ธนกฤต ครูปัญญามาตย์
ส�านักงานอัตราเบี้ยประกันวินาศภัย
ั
ี
ุ
ั
ุ
ธรกจประกันภัยน้นมความแตกต่างจากธรกจประเภทอน เนองจากธรกจประกันภัยน้นจะทราบต้นทนท่แท้จริงจากการรับประกนภย
ิ
ิ
ี
ิ
ุ
ั
ุ
ื
่
่
ื
ั
ี
หลังจากท่ความคุ้มครองของกรมธรรม์ได้ส้นสุดลง อย่างไรก็ดี บริษัทประกันภัยสามารถประมาณต้นทุนความเสียหายของผลิตภัณฑ์ประกันภัย
ิ
ี
ั
ื
ได้จากการวิเคราะห์ข้อมูลสถิติการรับประกันภัยในอดีต ท้งน้ ปริมาณข้อมูลท่ใช้ในการวิเคราะห์น้น ส่งผลต่อความแม่นยาและความน่าเช่อถือของ
ั
ี
�
�
ื
ึ
ี
ี
ึ
ค่าประมาณต้นทุนความเสียหาย กล่าวคือเม่อมีข้อมูลในปริมาณท่มากข้น ต้นทุนความเสียหายท่ได้จากการประมาณจะมีความแม่นยามากข้น
เนื่องจากค่าความผันผวนจากการค�านวณลดลง
ี
สานักงานอัตราเบ้ยประกันวินาศภัย จึงได้สร้างตัวแบบท่ใช้ในการประมาณต้นทุนความเสียหายจากข้อมูลการรับประกันภัยรถยนต์ของ
�
ี
ี
�
ื
ั
ท้งอุตสาหกรรม เพ่อให้บริษัทประกันภัยได้ใช้เป็นต้นทุนความเสียหายอ้างอิงสาหรับการรับประกันภัย และวางกลยุทธ์ในการกาหนดอัตราเบ้ย
�
ประกันภัยให้เหมาะสมกับระดับความเสี่ยง โดยบทความนี้จะแบ่งเป็น 2 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 จะกล่าวถึงโปรแกรมการค�านวณต้นทุนความเสีย
หายอ้างอิง แบบแยกประเภทการซ่อม ของรถยนต์นั่ง กรมธรรม์ประเภทที่ 1 ซึ่งส�านักงานฯ ได้เปิดให้บริษัทประกันภัยดาวน์โหลดโปรแกรมดัง
กล่าวผ่านเว็บไซต์ของส�านักงานฯ เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2561 แล้วจะกล่าวถึงผลการวิเคราะห์จากการศึกษาต้นทุนความเสียหายอ้างอิงดังกล่าว
(เฉพาะปัจจัยที่ไม่มีในพิกัดอัตราเบี้ยประกันภัยรถยนต์ปี 2548) เพื่อเป็นแนวทางให้บริษัทประกันภัยน�าไปใช้ในการวางกลยุทธ์ในการรับประกัน
ภัยรถยนต์ และตอนที่ 2 จะอธิบายตัวแบบเชิงเส้นวางนัยทั่วไป (Generalized Linear Model หรือ GLM) ซึ่งเป็นตัวแบบที่ส�านักงานฯเลือกใช้
ในวารสารประกันภัยฉบับถัดไป
จุดประสงค์ในการสร้างตัวแบบและโปรแกรมค�านวณต้นทุนความเสียหายอ้างอิง
เนื่องจากพิกัดอัตราเบี้ยประกันภัยรถยนต์ปี 2548 ที่ส�านักงานคณะกรรมการก�ากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.)
ก�าหนด (เริ่มบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2548) มีผลบังคับใช้มาเป็นเวลา 13 ปีแล้ว ประกอบกับการที่ปัจจัยต่าง ๆ มีการเปลี่ยนแปลงอยู่
ตลอดเวลา ส่งผลให้พิกัดอัตราเบี้ยประกันภัยดังกล่าวอาจไม่สะท้อนถึงการเปลี่ยนแปลงของความเสี่ยงภัย เนื่องจากข้อมูลสถิติเมื่อ 13 ปีที่แล้ว
อาจสะท้อนต้นทุนความเสียหายในปัจจุบันไม่ดีเท่ากับข้อมูลสถิติในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา นอกจากนี้ ยังมีปัจจัยอื่นที่ส่งผลกระทบต่อต้นทุนความเสีย
ี
หายแต่ไม่ได้ระบุไว้ในพิกัดอัตราเบ้ยประกันภัยรถยนต์ปี 2548 เช่น ประเภทของการซ่อม (ซ่อมศูนย์ หรือ ซ่อมอู่ในเครือบริษัทประกันภัย), ประเภท
ผู้เอาประกันภัย (บุคคลหรือนิติบุคคล), รถยนต์รุ่นใหม่ที่มีคุณลักษณะและสมรรถภาพต่างจากรุ่นรถในอดีต ส�านักงานฯ จึงได้สร้างตัวแบบเพื่อใช้
�
ี
�
ในการคานวณต้นทุนความเสียหายอ้างอิงสาหรับประกันภัยรถยนต์ภาคสมัครใจ เพ่อให้บริษัทประกันภัยได้มีต้นทุนความเสียหายอ้างอิง ท่สามารถ
ื
ิ
ึ
สะท้อนถึงความเส่ยงภัยในปัจจุบันได้ดีย่งข้น นอกจากน้ สานักงานฯ ได้สร้างโปรแกรมเพ่ออานวยความสะดวกให้แก่บริษัทประกันภัยในการ
ี
ื
�
ี
�
ค�านวณเบี้ยประกันภัยพื้นฐานที่เหมาะสมภายใต้พิกัดอัตราเบี้ยประกันภัยรถยนต์ปี 2548
12 วารสารประกันภัย ฉบับที่ 139