Page 11 - InsuranceJournal139
P. 11
รอบรู้ประกันภัย
ั
ิ
ั
ึ
ั
พ.ศ. 2560 น้นมีมูลค่าเพ่มข้นเป็น 1.26 แสนล้านบาท หรือ เติบโตข้น 3.2% ส่งผลให้ธุรกิจประกันวินาศภัยน้นกลับมามีชีวิตชีวาข้นอีกคร้ง
ึ
ึ
สัญญาณบวกดังกล่าวท�าให้เกิดค�าถามตามมาว่า แล้วปีนี้ธุรกิจประกันภัยรถยนต์จะเป็นอย่างไร ‘จะรุ่งต่อเนื่อง’ หรือไม่
เป็นท่คาดว่าเศรษฐกิจของประเทศไทยจะเร่มกลับมาคึกคักอีกคร้งตามกระแสการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลก และแรงหนุนจากนโยบาย
ิ
ั
ี
ื
ื
ื
ี
ี
ภาครัฐท่เน้นเร่องการสร้างและปรับปรุงโครงสร้างพ้นฐานขนาดใหญ่ในประเทศ โดยเฉพาะโครงการท่พยายามผลักดันให้พ้นท่ภาคตะวันออก
ี
ั
ื
ี
�
ึ
ของไทยเป็นพ้นท่เศรษฐกิจช้นนาของเอเชีย ซ่งก็จะดึงเม็ดเงินลงทุนของนักลงทุนต่างชาติเข้าประเทศอย่างมหาศาล รวมไปถึงอุตสาหกรรม
การท่องเที่ยวที่คาดว่าจะสร้างรายได้ให้กับประเทศได้มากถึง 3 ล้านล้านบาทจากจ�านวนนักท่องเที่ยวเกือบ 40 ล้านคน (เพิ่มขึ้นไม่ต�่ากว่า 8%
ั
ื
ี
จากปีท่ผ่านมา) อย่างไรก็ตาม ภาคเกษตรกรรมน้นอาจจะยังต้องเผชิญกับปัญหาเร่องภัยธรรมชาติและความไม่สมดุลของอุปสงค์และอุปทาน
จึงน่าจะมีผลกระทบทางลบต่อรายได้ของพี่น้องเกษตรกรอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ด้วยปัจจัยและสิ่งแวดล้อมที่มีแนวโน้มดังกล่าวนี้ จึงเป็นที่คาดกัน
ว่ายอดจ�าหน่ายรถยนต์ภายในประเทศส�าหรับปีนี้ (ปี พ.ศ. 2561) จะไปได้ถึง 9 ถึง 9.3 แสนคัน หรือเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้วประมาณ 3.3% และ
[2]
ึ
ิ
�
่
�
มีแนวโน้มท่จะทาให้ปริมาณรถยนต์ (ไม่นับรวมรถจักรยานยนต์) ท่จดทะเบียนสะสมในประเทศมีจานวนไม่ตากว่า 16.4 ล้านคัน เพ่มข้นจาก
ี
ี
�
ี
ี
[3]
15.7 ล้านคันในปี 2560 หากเป็นดังเช่นท่คาดน้ก็เช่อว่าเบ้ยประกันภัยรถยนต์จะสามารถขยายตัวได้ในอัตรา 3% - 5% หรือคิดเป็นมูลค่า
ื
ี
1.3 แสนล้านบาทถึง 1.32 แสนล้านบาท ในปี พ.ศ. 2561 ตัวเลขดังกล่าวถึงแม้จะแสดงถึงการเติบโตแบบค่อยเป็นค่อยไป แต่ก็ถือว่าเป็นสัญญาณ
ที่ดีต่อการเติบโตของธุรกิจประกันวินาศภัยในปี พ.ศ. 2561
รูปที่ 2 : อัตราส่วนความเสียหายของธุรกิจประกันภัยรถยนต์ประเภทสมัครใจ (2558-2559)
2559 64.4%
2558 63.8%
2557 60.4%
ที่มา: คปภ. และการค�านวณของผู้เขียน
ี
ี
ประเด็นท่น่าจับตาคือ ทิศทางของอัตราเบ้ยของธุรกิจประกันภัยรถยนต์ท่อยู่ในช่วงขาลงตลอดระยะเวลาหลายปีท่ผ่านมา โดยพิจารณา
ี
ี
จากอัตราเบี้ยของกรมธรรม์ประเภท 1 (ที่มีสัดส่วนของเงินเอาประกันภัยสูงถึง 63% ของเงินเอาประกันภัยทั้งหมดของธุรกิจประกันภัยรถยนต์
ประเภทสมัครใจ และมีเบี้ยฯ คิดเป็นสัดส่วนมากถึง 84% ของเบี้ยฯ รวมของธุรกิจประกันภัยรถยนต์ประเภทสมัครใจ) ที่เคยอยู่ที่อัตรา 2.99%
ในปี พ.ศ. 2557 แต่อีกเพียงแค่ 2 ปีต่อมาก็ได้ลดระดับลงมาอยู่ที่ 2.89% ในปี พ.ศ. 2559 (TID) ซึ่งในช่วงระยะเวลาเดียวกันนั้นเอง อัตราส่วน
ความเสียหาย (Loss Ratio) ของธุรกิจประกันภัยรถยนต์ประเภทสมัครใจก็มีแนวโน้มปรับเพิ่มขึ้นอย่างเห็นได้ชัด โดยอัตราส่วนความเสียหายที่
เกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2557 ที่อยู่ที่ระดับ 60.4% ได้ขยับเพิ่มขึ้นเป็น 64.4% ในปี พ.ศ. 2559 ดังแสดงในรูปที่ 2 หากทิศทางของอัตราเบี้ยประกันภัย
และอัตราส่วนความเสียหายยังคงเป็นไปตามรูปแบบที่กล่าวถึงนี้ต่อไปอีกในอนาคต ก็น่าจะสร้างความกังวลให้กับหลาย ๆ ฝ่ายที่พึ่งพาผลก�าไร
จากการด�าเนินธุรกิจประเภทนี้อย่างแน่นอน
ที่มาของข้อมูล
[1] ธนาคารแห่งประเทศไทย/สืบค้นเม่อวันท่ 7 มิถุนายน 2561/จาก/ http://www2.bot.or.th/statistics/ReportPage.aspx?reportID=593&language=th
ื
ี
ื
ี
[2] สืบค้นเม่อวันท่ 7 มิถุนายน 2561/จาก/http://drivetripper.com/2018-annual-press-conference
ื
ี
[3] กรมการขนส่งทางบก/สืบค้นเม่อวันท่ 7 มิถุนายน 2561/จาก/https://www.dlt.go.th/
วารสารประกันภัย เมษายน - มิถุนายน 2561 11