Page 10 - InsuranceJournal139
P. 10
รอบรู้ประกันภัย
คำดกำรณ์ธุรกิจประกันภัยรถยนต์
ในปี พ.ศ. 2561
โดย ส�านักวิจัยและสถิติ
บมจ. ไทยรับประกันภัยต่อ และ บมจ. ไทยรีประกันชีวิต
ธุรกิจประกันภัยรถยนต์ถือว่าเป็นเครื่องจักรที่ส�าคัญที่สุดในการขับเคลื่อนธุรกิจประกันวินาศภัยไทยในปัจจุบัน และเชื่อว่าจะยังคงอยู่
ในสภาพนี้ต่อไปอีกในอนาคตอันใกล้ ด้วยสัดส่วนของเบี้ยประกันภัยที่มีสูงถึงเกือบ 58% ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา (ดังแสดงในรูปที่ 1) ดังนั้น การ
เปลี่ยนแปลงหรือแนวโน้มของธุรกิจประเภทนี้จึงถือว่าเป็นเครื่องชี้น�าที่ส�าคัญของทิศทางในภาพรวมของธุรกิจประกันวินาศภัยได้เป็นอย่างดี
รูปที่ 1: ขนาดของธุรกิจประกันภัยรถยนต์ (2558-2560)
57% 58% 58%
43% 42% 42%
Motor
Non-Motor
2558 2559 2560
ที่มา: คปภ. และการค�านวณของผู้เขียน
จากการที่ประเทศไทยได้ประสบกับปัญหาอุทกภัยที่ถือว่ารุนแรงที่สุดเป็นประวัติการณ์เมื่อปี พ.ศ. 2554 มีผลท�าให้เกิดความเสียหาย
ั
ื
ทางเศรษฐกิจและชีวิตอย่างใหญ่หลวง รัฐบาลจึงได้มีมติอนุมัตินโยบายทางภาษีต่าง ๆ ในปีน้นเพ่อบรรเทาผลกระทบต่อความม่นคงทางเศรษฐกิจ
ั
ของประเทศ ไม่วาจะเป็น นโยบายคืนภาษีรถยนต์คันแรก นโยบายลดภาษีบ้านหลังแรก และนโยบายบัตรเครดิตชาวนาหรือเกษตรกร เป็นต้น ซึ่ง
่
ื
ื
ึ
นโยบายคืนภาษีแก่ประชาชนท่ซ้อรถคันแรกส่งผลให้อุตสาหกรรมรถยนต์ ธนาคาร และบริษัทสินเช่อ กลับมาคึกคักอีกคร้งหน่ง รวมถึงธุรกิจ
ี
ั
ประกันวินาศภัยที่เบี้ยประกันภัยรับโดยตรงของธุรกิจในปี พ.ศ. 2554 มีอัตราการเติบโตมากถึง 12% และ 28% ในปีถัดมา โดยที่เบี้ยประกันภัย
รับโดยตรงของธุรกิจประกันภัยรถยนต์ใน 2 ปีดังกล่าวก็ขยายตัวสูงขึ้นในอัตรามากถึง 12% และ 25% เช่นเดียวกัน
อย่างไรก็ตาม อานิสงส์จากนโยบายภาครัฐดังกล่าวที่ผ่อนผันมาตั้งแต่ปลายปี พ.ศ. 2554 ก็ต้องมาสิ้นสุดลง ณ วันที่ 31 ธันวาคม ปี
ั
พ.ศ. 2555 จึงทาให้อัตราการขยายตัวของธุรกิจประกันวินาศภัยและธุรกิจประกันภัยรถยนต์น้นต้องหดกลับมาอยู่ในระดับท่ไม่เกิน 2% เป็นระยะ
ี
�
เวลาอีก 3 ปี (ในช่วงปี พ.ศ. 2557 จนถึง ปี พ.ศ. 2559) และเมื่อปีที่ผ่านมา (ปี พ.ศ. 2560) ที่ยอดจ�าหน่ายรถยนต์ในประเทศฟื้นกลับมาแตะที่
ึ
ี
ึ
ิ
[1]
ตัวเลขประมาณ 871,000 คัน หรือเพ่มข้นเกือบ 14% จากยอดจาหน่ายในปี พ.ศ. 2559 จึงทาให้เบ้ยประกันภัยรถยนต์ท่เกิดข้นในปี
ี
�
�
10 วารสารประกันภัย ฉบับที่ 139