Page 14 - InsuranceJournal139
P. 14

วิชาการ IPRB




                 (2) ส�าหรับรถยุโรป (EU) เมื่อพิจารณาจากรูปที่ 2 จะเห็นได้ว่า ต้นทุนความเสียหายของรถยนต์นั้นมีรูปแบบเมื่อพิจารณาตามลักษณะ
         ของตัวถังรถยนต์ (ในขณะที่ปัจจัยอื่นคงที่) เช่นเดียวกับรถที่ไม่ใช่รถยุโรป กล่าวคือ รถยนต์ที่มีลักษณะตัวถังแบบ SUV, Hatchback, Sedan มี
                              ี
                                   �
                                                                    ั
                                                      �
         ต้นทุนความเสียหายโดยเฉล่ยเรียงลาดับจากน้อยไปหามาก สาหรับกรณีรถยนต์น่งแบบมีประตูท้ายขนาดกลาง (Hatchback Medium) และ
         ขนาดใหญ่ (Hatchback Large) มีต้นทุนความเสียหายที่ค่อนข้างต�่า เนื่องจากในกลุ่มดังกล่าวมีเพียงรถยนต์ยี่ห้อ Volvo เท่านั้น โดยรถยี่ห้อ
         Volvo นั้นมีต้นทุนความเสียหายโดยเฉลี่ยที่ต�่ากว่ารถยี่ห้อ BMW และ Mercedes Benz ประมาณร้อยละ 11 ซึ่งส่งผลให้ รถยนต์ในกลุ่มดังกล่าว
         มีต้นทุนความเสียหายที่น้อยกว่ารถรถยนต์อเนกประสงค์สมรรถนะสูงขนาดใหญ่ (SUV Large) ซึ่งระดับต้นทุนความเสียหายดังกล่าว มีลักษณะ
         ที่คล้ายคลึงกับรถที่ไม่ใช่รถยุโรป
                 ส�านักงานฯ ได้พิจารณาอัตราส่วนค่าสินไหมทดแทน (Loss Ratio) ส�าหรับปี 2559 (ข้อมูลสิ้นสุด ณ ไตรมาสที่ 3 ปี 2560) ตามลักษณะ
         ตัวถังของรถยนต์และพบว่าอัตราส่วนค่าสินไหมทดแทน ของรถยนต์ที่มีลักษณะตัวถังแบบ SUV และ Hatchback ตั้งแต่ขนาดกลางขึ้นไป และ

         Sedan ขนาดใหญ่ มีอัตราส่วนค่าสินไหมทดแทนอยู่ในระดับที่ต�่ากว่าร้อยละ 63 ซึ่งแสดงให้เห็นว่าเบี้ยประกันภัยส�าหรับรถยนต์กลุ่มดังกล่าว ยัง
         อยู่ในระดับที่เพียงพอ ในขณะที่เบี้ยประกันภัยส�าหรับรถยนต์กลุ่มอื่นนั้นอยู่ในระดับที่ต�่าเกินไป


                                รูปที่ 2 กราฟเปรียบเทียบต้นทุนความเสียหาย ตามลักษณะตัวถังรถยนต์ ส�าหรับรถยุโรป




































                                                                ั
                                                             ี
                                                                                          ี
                 2. จังหวัดจดทะเบียน สานักงานฯ ได้พจารณาถึงระดบความเส่ยงภยตามพนทการใช้งาน โดยใช้จงหวดทรถยนต์จดทะเบียนเป็นตวแปร
                                                      ั
                                            ิ
                                  �
                                                                                        ั
                                                                     ื
                                                                                                           ั
                                                                                          ่
                                                                                     ั
                                                                        ่
                                                                     ้
                                                                        ี
                                                                                      ื
         ท่ใช้สะท้อนถึงพ้นท่ท่ผู้เอาประกันภัยขับข่รถยนต์ (โดยมีสมมติฐานว่าผู้เอาประกันภัยขับข่รถยนต์ในพ้นท่ท่รถยนต์จดทะเบียนเป็นหลัก)
                                                                             ี
                        ี
                         ี
                      ื
                                                                                          ี
           ี
                                                                                         ี
                                         ี
         โดยส�านักงานฯ พิจารณาจัดกลุ่มจังหวัดที่มีระดับต้นทุนความเสียหายและต�าแหน่งทางภูมิศาสตร์ที่ใกล้เคียงกันไว้ในกลุ่มเดียวกัน
                 เมื่อพิจารณาจากรูปที่ 3 จะเห็นได้ว่า รถยนต์ที่จดทะเบียนในภาคใต้ตอนล่างมีต้นทุนความเสียหายโดยเฉลี่ยที่ต�่ากว่าภูมิภาคอื่น (ใน
                                       ี
              ี
                                                                                                           ื
                                                                                       ี
                                                         ั
         ขณะท่ปัจจัยอ่นคงท่) ในส่วนของรถยนต์ท่จดทะเบียนในกรุงเทพฯน้น มีต้นทุนความเสียหายท่มากกว่ารถยนต์ท่จดทะเบียนในต่างจังหวัด เน่องจาก
                        ี
                                                                           ี
                   ื
                                                                                                      �
                                                                                                      ่
                                                                                                 ั
                                ื
         ความหนาแน่นของรถยนต์ในพ้นท่กรุงเทพฯส่งผลให้โอกาสในการเกิดอุบัติเหตุสูงข้น ในขณะท่ความรุนแรงของอุบัติเหตุน้นจะตากว่าการเกิด
                                  ี
                                                                              ี
                                                                     ึ
         อุบัติเหตุในต่างจังหวัด เนื่องจากสามารถขับขี่ได้ในความเร็วเฉลี่ยที่น้อยกว่า
         14          วารสารประกันภัย  ฉบับที่ 139
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19