Page 11 - InsuranceJournal144
P. 11
เรื่องเด่น
CPIC E-AgriIns
CPIC E-AgriIns เป็นโปรแกรมที่ได้สร้างขึ้นมาในปี 2015 จากความร่วมมือ
ระหว่าง CPIC และ AAIC เพื่อช่วยแก้ปัญหาต่าง ๆ ในขั้นตอนการประกันภัยทาง
ื
การเกษตร เช่น ปัญหาด้านประสิทธิภาพของนโยบายรัฐเพ่อควบคุมมาตรฐาน
การบริการประกันภัยหรือนโยบายเพื่อช่วยเหลือเกษตรกร ปัญหาด้านข้นตอน
ั
ี
การรับประกันภัยท่มีความซับซ้อนยุ่งยากและการจ่ายสินไหมทดแทนล่าช้า ปัญหา
ด้านการจัดการความเส่ยงของบริษัทประกันภัยมีความยุ่งยากและมีค่าใช้จ่ายใน
ี
การรับประกันภัยสูง เป็นต้น
CPIC E-AgriIns
โครงสร้างพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับ CPIC E-AgriIns ประกอบไปด้วย
ื
1. สถานีภูมิอากาศขนาดเล็ก: เพ่อตรวจเก็บข้อมูลสภาพอากาศแล้ววิเคราะห์ คาดการณ์สภาพอากาศและภัยธรรมชาติท่อาจจะ
ี
�
ี
ึ
เกิดข้นในอนาคต พร้อมใช้เป็นโครงสร้างหน่งในกลไกการประกันภัยท่อ้างอิงจากดัชนีทางอากาศสาหรับการจ่ายสินไหมทดแทน
ึ
ได้โดยอัตโนมัติ
2. กล้องตรวจจับแสง: ตรวจจับแสงที่มองเห็นและแถบแสงสีต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเกษตรทั้ง 360 องศา เป็นเวลา 24 ชั่วโมง
โดยใช้ 5G ส่งข้อมูลที่ตรวจวัดได้มาเก็บไว้ที่ฐานข้อมูล
3. เครื่องตรวจวัดอื่น ๆ: ติดเครื่องวัดอื่น ๆ ไว้รอบ ๆ แปลงปลูก เพื่อเก็บข้อมูลต่างๆ เช่น ความอุดมสมบูรณ์ของดิน ความชื้นในดิน
แล้วน�าข้อมูลที่เก็บได้ไปวิเคราะห์เพื่อสร้างกุลยทธ์ทางการเกษตร
ฟังก์ชันหลักของ CPIC E-AgriIns
1. ระบบเก็บข้อมูลผู้เอาประกันภัย: ใช้ระบบ OCR เพื่อเก็บข้อมูลบุคคลด้วยภาพถ่าย ทั้งบัตรประชาชน บัตรธนาคาร เป็นต้น
�
ทาให้การลงสถานท่เก็บข้อมูลจากเกษตรกรเป็นไปได้อย่างรวดเร็วและแม่นยา แล้วส่งไปเก็บในฐานข้อมูลกลาง ซ่งได้ช่วยแก้
�
ึ
ี
ปัญหาการเก็บข้อมูลแบบเก่า เช่น ข้อมูลหาย เก็บข้อมูลซ�้า ข้อมูลไม่แม่นย�า เป็นต้น ในปัจจุบันการเก็บข้อมูลเกษตรกรในพื้นที่
ทดลองได้ด�าเนินไปกว่า 1 หมื่นครัวเรือน และจะขยายขั้นตอนเก็บข้อมูลไปยังระดับประเทศต่อไป
2. ระบบเก็บข้อมูลพื้นที่เอาประกันภัย: ใช้ AI เพื่อตรวจวัดพื้นที่เพาะปลูกจริง พื้นที่ป่า ประเภทพืชที่เพาะปลูก แล้วเก็บลงในฐาน
ข้อมูล
3. ระบบตรวจสอบพืชเพาะปลูก: พนักงานของ CPIC ได้ใช้ระบบ E-AgriIns เพื่อเก็บข้อมูลพืชเพาะปลูกให้อยู่ในรูปแบบดิจิทัล
ป้องกันการทุจริตประกันภัยและการรับประกันภัยซ�้าซ้อน โดยรูปภาพที่ถ่ายเก็บมาจะมีข้อมูลที่เกี่ยวข้องระบุอยู่ในรูปภาพด้วย
เช่น หมายเลขกรมธรรม์ประกันภัย ประเภทพืชเอาประกันภัย เวลาที่ถ่ายรูป ชื่อผู้ตรวจสอบ พิกัดที่ถ่ายรูป พื้นที่แปลงเอาประกันภัย
(กรอบ และ ตารางเมตร) เป็นต้น
รูปแสดงการตรวจวัดพื้นที่แปลงเพาะปลูก
วารสารประกันภัย ฉบับที่ 144 11