Page 16 - InsuranceJournal144
P. 16

รอบรู้ประกันภัย



                ใน IFRS17 นั้นได้แยกส่วนของการลงทุน (Investment components) ออกมาจากส่วนของประกันภัย (Insurance components)
          ซึ่งต้องอาศัยหลักคณิตศาสตร์ประกันภัยมาช่วยแยกส่วนประกอบตัวนี้
                ในสมัยที่เป็น IFRS4 นั้นเวลาที่บริษัทประกันภัยจ่ายเงินออกจากการที่ผู้ถือกรมธรรม์มาขอเคลมนั้น ก็จะถือเป็นค่าใช้จ่ายที่เกิดจากการ
                                                                  ี
                                                ั
                      �
                                                                                ี
                                   ี
          เคลมไปเลย แต่สาหรับ IFRS17 ท่ต้องลงลึกไปกว่าน้นแล้ว จะต้องแตกส่วนท่เป็นความคุ้มครองท่แท้จริงออกมาเป็นส่วนของประกันภัย และ
          ส่วนที่เหมือนกับการคืนเงิน (ถ้ามี ส�าหรับแบบประกันภัยบางแบบ) ที่ผู้ถือกรมธรรม์ควรจะได้ (Release in Cash Surrender Value) ออกมา
          เป็นส่วนของลงทุน
                                             ี
                                                                                            ึ
                                                                                                            ิ
                ยกตัวอย่างเช่น กรมธรรม์ประกันภัยท่ทุนประกัน 1.5 ล้านบาท ปรากฏว่าผู้ถือกรมธรรม์เกิดเคลมข้นมา (แบบท่สัญญาส้นสุด
                                                                                                      ี
          ความคุ้มครอง เช่น ประกันโรคร้ายแรง แบบที่จ่ายแล้วจบสัญญา เป็นต้น) และมูลค่าเวนคืนเงินสด (Cash Surrender Value) ในขณะนั้นอยู่ที่
          1 ล้านบาท ส�าหรับ IFRS17 แล้ว เราจะแบ่งเงินที่ต้องจ่ายออกมา 1.5 ล้านบาท ออกมาเป็น 5 แสนบาทจากความคุ้มครอง (ซึ่งก็คือส่วนเกินของ
          ทุนประกันภัยที่มากกว่าเงินส�ารอง หรือทางศัพท์เทคนิคเรียกว่า Net Amount at Risk (NAR)) และ 1 ล้านบาท ที่เป็นการ Release มูลค่า
          เวนคืนเงินสด (ถ้ามี) ออกมาเมื่อผู้ถือกรมธรรม์ขอเคลม จะถือเป็นส่วนของการลงทุน (Investment components)
                ในตัวอย่างเดียวกัน ถ้าลูกค้าขอเวนคืนกรมธรรม์แล้ว บริษัทประกันภัยก็จะต้องมีการจ่ายเงินออก (Cash outgo) ซ่ง IFRS17 น้น
                                                                                                              ั
                                                                                                     ึ
          จะถือว่าเป็นส่วนของการลงทุน (Investment components) เช่นกัน
                มีอีกจุดหนึ่งที่ตั้งเป็นข้อสังเกตได้ว่า ใน IFRS17 นี้ จะไม่มีเบี้ยค้างรับ (Due premium) หรือ เบี้ยรับล่วงหน้า (Prepaid premium)
          อีกต่อไป ในส่วนของการบันทึกรายรับ/รายได้ (Insurance revenue) จะพิจารณาจากการส่งมอบบริการตามหลักบัญชี (Service on earned
          basis) ซึ่งถ้าท�าแบบนี้แล้วจะท�าให้สอดคล้องกับธุรกิจอื่น ๆ ที่ไม่ใช่ธุรกิจประกันภัย
                ส่วนการแสดงผลของงบดุล ที่เปลี่ยนจาก IFRS4 มาเป็น IFRS17 มีดังนี้

                                IFRS4                                             IFRS17

            Asset                                             Asset
            Reinsurance Contract Assets                       Reinsurance Contract Assets
            Deferred Acquisition Costs                        Insurance Contract Assets
            Value of Business Acquired
            Premium Receivable
            Policy Loans

            Liabilities                                       Liabilities
            Insurance Contracts Liabilities                   Insurance Contracts Liabilities
            Unearned Premiums                                 Reinsurance Contract Liabilities
            Claims Payable

                จะเห็นว่า IFRS17 น้นรวบทุกอย่างเอาไว้เป็น Insurance Contract Assets/Liabilities หรือ Reinsurance Contract Assets/
                                ั
          Liabilities ไว้หมด เพื่อหลีกเลี่ยงการแสดงผลที่แตกต่างกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง งบดุลของ IFRS17 นั้นจะไม่ได้มีการแสดงเบี้ยค้างรับ (Premium
          Receivable) ว่าเป็นสินทรัพย์ทางการเงิน (Financial Asset) อีกต่อไป ทั้งนี้ Acquisition Cost ก็ไม่ได้แสดงออกมาอยู่ในรูปของสินทรัพย์ที่
          จับต้องไม่ได้ (Intangible Asset) เช่นกัน หากแต่ เรื่อง Deferred Acquisition Costs ในเชิงเทคนิคของ IFRS17 นั้นจะถูกฝังอยู่ในรูปแบบ
          การคานวณหน้สิน (Insurance Contract Liabilities) และถูกทยอยรับรู้ในรูปแบบของหลักคณิตศาสตร์ประกันภัยและฝังอยู่ในส่วนหน่งของ
                    ี
              �
                                                                                                            ึ
          Contractual Service Margin (CSM) ซึ่งจะได้กล่าวต่อไป
                ในตอนหน้าผมจะพาไปทาความเข้าใจสัญญาประกันภัยอยู่ 2 ตัว ท่เป็นหัวใจสาคัญท่สุดของมาตรฐาน IFRS17 และประเด็นอ่น ๆ
                                                                                                            ื
                                   �
                                                                              ี
                                                                          �
                                                                  ี
          เพิ่มเติมกันครับ...





         16          วารสารประกันภัย  ฉบับที่ 144
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21