Page 12 - InsuranceJournal144
P. 12
เรื่องเด่น
4. ระบบเฮอริเคน: ใช้ระบบ AI ในการตรวจสอบความเป็นหนึ่งเดียวของพื้นที่แปลงจากรูปที่ถ่ายมาตอนรับประกันภัยกับรูปภาพ
ดาวเทียมที่เก็บไว้ในฐานข้อมูล เพื่อตรวจสอบว่าเป็นรูปที่ถ่ายจากสถานที่ที่ระบุจริงหรือไม่
5. ระบบตรวจวัดความเสียหายระยะไกล: ใช้ระบบ Remote Sensing (ดาวเทียม, โดรน) เพื่อตรวจวัดความเสียหายของพืชที่รับ
ประกันภัยต่าง ๆ เช่น ใบยาสูบของมณฑลยูนนาน พืชพันธุ์ทางการเกษตรของมณฑลมองโกเลียใน เป็นต้น ซึ่งถือเป็นระบบที่
ประสบความส�าเร็จอย่างมากระบบหนึ่ง
6. ระบบการจ่ายสินไหมทดแทนอัตโนมัติ: บริษัท CPIC มีการประกันภัยที่อ้างอิงดัชนีทางภูมิอากาศหลายประเภท ซึ่งเมื่อพื้นที่
ื
�
เพาะปลูกมีดัชนีท่เป็นไปตามเง่อนไขท่กรมธรรม์ประกันภัยกาหนด บริษัทจะจ่ายสินไหมทดแทนให้เกษตรกรผู้เอาประกันภัยโดย
ี
ี
�
้
อัตโนมัติ เช่น ประกันภัยบ๊วยหยางเหมยท่อ้างอิงดัชนีนาฝน ประกันภัยจามรีท่อ้างอิงดัชนีหิมะ ประกันภัยใบชาท่อ้างอิงอุณหภูม ิ
ี
ี
ี
(หากอุณหภูมิตากว่าเกณฑ์จะจ่ายสินไหมทดแทน) ประกันภัยปลานาจืดท่อ้างอิงอุณหภูมิ (หากอุณหภูมิสูงกว่าเกณฑ์จะ
�
่
ี
�
้
จ่ายสินไหมทดแทน) ประกันภัยอ้อยน�้าตาลที่อ้างอิงดัชนีการผลิต เป็นต้น
7. แพลตฟอร์มอัจฉริยะเพื่อเพิ่มมูลค่าทางการเกษตร: ประกอบด้วยหลายฟังก์ชัน เช่น การคาดการณ์ผลผลิต การบริหารช่วง
แตกหน่อและเก็บเกี่ยว การเตือนภัยด้านสภาพอากาศ เป็นต้น
ฟังก์ชันใหม่ของ CPIC E-AgriIns เวอร์ชัน 5.0
ั
ื
1. E-Smart Flight: เน่องจากการใช้โดรนในอดีตประสบปัญหาต่าง ๆ เช่น ระยะบินส้น ผลการถ่ายรูปออกมาช้า ขาดการควบคุม
โดรนอย่างเป็นระบบ เป็นต้น โดรนเวอร์ช่นใหม่น้จึงผสมผสานเทคโนโลยี 5G และ AI เพ่อแก้ปัญหาดงกล่าว โดยสามารถควบคุม
ื
ั
ี
ั
โดรนได้จากระยะไกล และสามารถก�าหนดเส้นทางการบินได้ ข้อมูลรูปภาพที่ถ่ายมาได้ส่งผ่าน 5G เพื่อเก็บเข้าฐานข้อมูลเพื่อ
ื
ี
�
ี
ึ
ิ
วิเคราะห์พ้นท่เพาะปลูกท่ตรวจวัดและระบุพ้นท่ท่เสียหายได้โดยอัตโนมัติ ซ่งเพ่มความรวดเร็วและแม่นยาในกระบวนการ
ื
ี
ี
ตรวจสอบพื้นที่แปลงที่เสียหายได้อย่างมีนัยส�าคัญ
2. E-Crop loan: เนื่องจากภาคการเกษตรประสบปัญหาพื้นฐานมากมาย คือคุณภาพการบริหารผลผลิตต�่า ความเสี่ยงด้านราคา
ผลผลิตค่อนข้างสูง เกษตรกรไม่ค่อยมีเจตจ�านงในการซื้อประกันภัย ความคุ้มครองของประกันภัยต�่า การกู้เงินยาก ดอกเบี้ยสูง
ดังนั้น E-Crop loan จึงถูกคิดค้นมาเพื่อช่วยบริหารจัดการผลผลิตที่ถูกจ�านองไว้อย่างรอบด้าน ทั้งด้านการบริหารความเสี่ยง
ื
และการบริการทางประกันภัย ช่วยเกษตรกรและกลุ่มภาคการเกษตรสมัยใหม่ในการกู้เงินเพ่อขยายธุรกิจ ปรับปรุงวัฏจักร
การเงินภาคการเกษตรให้ดีและเข้มแข็งขึ้น
ปัจจุบันการประกันภัยทางการเกษตรในสาธารณรัฐประชาชนจีน มีความก้าวหน้าเป็นอันมาก นอกจากมีการจัดการบริหารความเสี่ยง
ึ
�
ให้กับเกษตรกรด้วยการนาระบบการประกันภัยซ่งมีกรมธรรม์ประเภทต่าง ๆ ครอบคลุมพืชผลทางการเกษตรหลากหลายกว่า 40 ชนิดแล้ว
ยังรวมถึงการเพาะเลี้ยงสัตว์น�้า (กุ้ง ปลา ปูขน) ปศุสัตว์ (Livestock) สัตว์ปีก (Poultry) และ ปลาสวยงาม (Beautiful Fish) เช่น ปลาคาร์ฟ และ
ยังมีการน�าเทคโนโลยีอันทันสมัย เช่น ระบบดาวเทียม โดรน ระบบ AI และ Application ต่าง ๆ มาใช้ในการบริหารการตรวจสภาพดินฟ้าอากาศ
ื
เพ่อสร้างผลิตผลทางการเกษตรให้มีความม่งค่งและย่งยืนกับเกษตรกรของประเทศ ด้วยการขับเคล่อนจากภาครัฐและเอกชนอย่างเข้มแข็งและ
ื
ั
ั
ั
จริงจัง
แต่เป็นที่น่าสนใจว่ารูปแบบการเพาะปลูกหรือเลี้ยงสัตว์ของเกษตรกรในสาธารณรัฐประชาชนจีน จะเป็นการท�าการเกษตรแบบเกษตร
ี
แปลงใหญ่โดยการมีนายทุนเช่าพ้นท่เพาะปลูกและเล้ยงสัตว์จากชาวนา และจ้างชาวนามาเป็นแรงงานต่อ ดังน้นจึงสามารถมีการลงทุนใน
ื
ั
ี
ด้านเทคโนโลยีและเครื่องจักรในทางการเกษตรที่มีความทันสมัยส่งผลให้ผลผลิตได้คุณภาพและปริมาณสูง สามารถควบคุมและก�าจัดวัชพืชและ
ศัตรูพืชได้เป็นอย่างดี แต่อย่างไรก็ตาม ทางภาครัฐก็ยังคงมีนโยบายให้การประกันภัยเข้าไปมีบทบาทในการบริหารความเส่ยงด้านผลผลิตทาง
ี
การเกษตรอยู่เช่นเดิม
ส�าหรับการประกันภัยพืชผลในประเทศไทยนั้น มีการประกันภัยข้าวนาปี เริ่มตั้งแต่ปี 2554 และ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ เริ่มตั้งแต่ปี 2561
ี
ึ
ื
�
ี
ซ่งเป็นโครงการท่ภาครัฐร่วมกับเอกชนบูรณาการขับเคล่อนโครงการ นอกจากน้ สานักงานคณะกรรมการก�ากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจ
�
ประกันภัย (คปภ.) สมาคมประกันวินาศภัยไทย และภาคธุรกิจประกันภัย ตลอดจนหน่วยงานภาครัฐหลายหน่วยงาน ยังได้ทางานร่วมกันอย่าง
ใกล้ชิดให้มีการรับประกันภัยการเพาะปลูกต้นล�าใยและต้นทุเรียน การประกันภัยโคนม การประกันภัยเรือประมง ดังนั้นการศึกษาดูงานในครั้งนี้
ั
ั
�
ทาให้คณะทางานได้เรียนรู้ เล็งเห็นช่องทางและโอกาสในการขับเคล่อนการประกันภัยพืชผลในประเทศไทยเพ่อสร้างความม่นคงและย่งยืนให้กับ
ื
�
ื
เกษตรไทยต่อไป
12 วารสารประกันภัย ฉบับที่ 144