Page 32 - InsuranceJournal144
P. 32

รอบรู้ประกันภัย



            แล้วธุรกิจประกันภัยต้องทำาอย่างไรเพื่อมัดใจคนขี้เกียจ?

                     ผู้บริโภคที่ถูกจัดอยู่ในกลุ่มมนุษย์ขี้เกียจของไทยมีจ�านวนมาก (45 ล้าน-55 ล้านคนขึ้นอยู่กับกิจกรรม)
                                                 ี
                                                                                   �
                                           ี
                                                      �
                     การออกกาลังกายเป็นกิจกรรมท่คนไทยข้เกียจทามากท่สุด ส่งผลให้การใช้ App การออกกาลังกายไม่สูงตามมา (ใช้ 32%) เน่องจาก
                           �
                                                                                                           ื
                                                           ี
                    การออกก�าลังกายน่าเบื่อ ไม่สนุก ขาดแรงจูงใจในการออกก�าลังกาย ดังนั้น ผลิตภัณฑ์ประกันภัยที่ต้องใช้ข้อมูลการออกก�าลังกาย
                                                                                              ิ
                                         ื
                                                                                                         ั
                    จะต้องมีความสนุก ท้าทายผู้ซ้อ รวมถึงไม่ต้องรอแลกของรางวัลนาน (ส่วนลดประกันภัยหรือเงินคืนตอนส้นปี) พร้อมกันน้น บริษัท
                    ประกันภัยควรสร้าง ecosystem ที่นอกเหนือจากการประกันภัยเพื่อรองรับความต้องการเพื่อให้ผลิตภัณฑ์มีความยั่งยืน
                     การซื้อสินค้าและบริการ และการท�าธุรกรรมทางการเงินออนไลน์อาจก่อให้เกิดปัญหา Data Privacy ส่งผลให้ Cyber Insurance
                    มีความส�าคัญมากขึ้น บริษัทประกันภัยจึงควรให้ความส�าคัญต่อ Cyber Insurance เพื่อสร้างฐานรายได้ใหม่
                     ช่องทางขายประกันออนไลน์มีหลายช่องทางทั้งที่บริษัทพัฒนาเอง ขายผ่านนายหน้าออนไลน์ พร้อมกันนั้นยังมีช่องทางที่น่าสนใจ
                    ซึ่งเป็นช่องทางที่คนไทยจ�านวนมากเข้าถึงและใช้อยู่ในปัจจุบัน
                     On-Demand เป็นเทรนด์ที่ก�าลังมา บริษัทประกันภัยควรที่จะพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อรองรับเทรนด์นี้ รวมทั้งอาจร่วมกับ Startup
                    เหล่านี้เพื่อร่วมประชาสัมพันธ์ให้คนรู้จัก
                     ในหลาย ๆ การส�ารวจความคิดเห็นพบว่า ผู้บริโภคไม่ให้ความส�าคัญกับประกันภัยเนื่องจากเห็นว่าเป็นสินค้าไม่จ�าเป็น เข้าท�านอง

                                                                                          �
                                                   ้
                                                   ั
                                                       ิ
                                                         ั
                                                              ั
                                                                            ู
                                                                 ั
                          ื
                          ้
                                                                                                             ่
                    “ตอนซอไม่ได้ใช้ ตอนจะใช้ไม่ได้ซอ” ดงนน บรษทประกนภยอาจให้ความร้แก่ประชาชน โดยทา Short content ผ่านสอท  ่ ี
                                                 ั
                                             ื
                                                                                                             ื
                                             ้
                    น่าสนใจ หรือแฝงไปกับนิยายแชทออนไลน์หรือใน Facebook ที่เป็น Community ที่คนเข้าร่วมเป็นจ�านวนมาก
                     สร้าง Brand Awareness โดยใช้ Podcast เช่น กรุงไทย แอกซ่าร่วมกับ The Standard จัดท�า STEP LIFE Podcast เพื่อแนะน�า
                    การวิ่งตั้งแต่เริ่มจนสามารถวิ่งได้ 10 km ภายใน 10 สัปดาห์ รวมถึงยังขยายไปถึงการจัดงานวิ่งอีกด้วย เมืองไทยประกันชีวิตได้
                    จัดท�า Healthy is a Trend เพื่อแนะน�าการออกก�าลังกาย การดูแลสุขภาพ
                                      ที่มา:
                                      1.  CMMU, 2562, Lazy Consumer เจาะลึกอินไซต์... พิชิตใจคนขี้เกียจ
                                      2.  https://www.alizila.com/lazy-economy-takes-off-on-taobao



































         32          วารสารประกันภัย  ฉบับที่ 144
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37