Page 108 - InsuranceHandbook
P. 108
บทที่ 6 เอกสารที่เกี่ยวข้องกับสัญญาประกันภัย 89
9) ความเสี่ยงภัยที่มีอยู่ในปัจจุบัน 7. ชื่อหรือยี่ห้อของผู้รับประกันภัย
10) ประวัติการเอาประกันภัย 8. ชื่อหรือยี่ห้อของผู้เอาประกันภัย
11) คำรับรองว่าข้อความที่แถลงไว้เป็นความจริง 9. ชื่อของผู้รับประโยชน์ ในกรณีที่ผู้เอาประกันภัยระบุให้บุคคลหนึ่งบุคคลใดเป็นผู้รับประโยชน์ตาม
12) ลายมือชื่อผู้ขอเอาประกันภัย สัญญาประกันภัย
13) วันที่ขอเอาประกันภัย 10. วันทำสัญญาประกันภัย คือ วันที่สัญญาประกันภัยระหว่างผู้เอาประกันภัยและผู้รับประกันภัยเกิดขึ้น
14) คำเตือนของสำนักงานคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.) 11. สถานที่ และวันที่ได้ทำกรมธรรม์ประกันภัย ซึ่งอาจเป็นวันเดียวกันหรือวันใดวันหนึ่งหลังจากวันทำ
ั
(โปรดดูภาคผนวก 1 ตัวอย่างใบคำขอเอาประกันอคคีภัย) สัญญาประกันภัยก็ได้
หมายเหตุ: ใบคำขอเอาประกันอัคคีภัยที่มีใช้กันอยู่ยังไม่มีฉบับมาตรฐาน (โปรดดูภาคผนวก 2 ตัวอย่างตารางกรมธรรม์ประกันอัคคีภัย)
2. กรมธรรม์ประกันภัย (Insurance Policy หรือ Policy) 2.2 โครงสร้างของกรมธรรม์ประกันภัย
เมื่อผู้รับประกันภัยตกลงรับประกันภัยก็จะต้องออกกรมธรรม์ประกันภัยที่มีเนื้อความตามที่ตกลงกันไว้ โดยทั่วไปแล้วกรมธรรม์ประกันภัยจะมีโครงสร้างในข้อสาระสำคัญเป็นส่วน ๆ ดังนี้
ให้แก่ผู้เอาประกันภัย ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 867 วรรคแรกและวรรคสองได้บัญญัติไว้ว่า 2.2.1 หัวกระดาษ (Heading) ได้แก่ ชื่อ และที่อยู่ของผู้รับประกันภัย
ื
“อันสัญญาประกันภัยนั้น ถ้ามิได้มีหลักฐานเป็นหนังสืออย่างใดอย่างหนงลงลายมือชื่อฝ่ายที่ตองรับผิดหรือลายมอ 2.2.2 บทนำ (Preamble หรือ Recital Clause) เป็นข้อความในช่วงเริ่มต้นของกรมธรรม์ประกันภัย
้
่
ึ
ชื่อตัวแทนของฝ่ายนั้นเป็นสำคัญ ท่านว่าจะฟ้องร้องให้บังคับคดีหาได้ไม ให้ส่งมอบกรมธรรม์ประกันภัยอันม ี ที่อาจระบุถึงคู่สัญญาและการขอเอาประกันภัยโดยผู้ขอเอาประกันภัย เพื่อเป็นการเกริ่นนำก่อนเข้าสู่เนื้อหา
่
เนื้อความต้องตามสัญญานั้นแก่ผู้เอาประกันภัยฉบับหนึ่ง” สาระสำคัญของกรมธรรม์ประกันภัย เช่น “โดยเชื่อถือถ้อยคำในคำขอเอาประกันภัย และเพื่อเป็นการตอบแทนเบี้ย
กรมธรรม์ประกันภัย (Policy) เป็นคำที่มาจากภาษาอิตาลีว่า Polizza หมายถึง เอกสารที่เป็นหลักฐานของ ประกันภัยที่ผู้เอาประกันภัยต้องชำระ บริษัทให้สัญญาต่อผู้เอาประกันภัยดังต่อไปนี้………………….”
ี
่
สัญญาประกันภัยที่มีลายมือชื่อของผู้รับประกันภัยและแสดงรายละเอียดของสัญญาประกันภัย เช่น วัตถุท 2.2.3 ข้อกำหนดความคุ้มครอง (Operative Clause) เป็นส่วนหนึ่งของกรมธรรม์ประกันภัยที่ระบ ุ
ุ
เอาประกันภัย จำนวนเงินเอาประกันภัย ชื่อผู้เอาประกันภัย ชื่อผู้รับประกันภัย วันที่สัญญาเริ่มต้นและสิ้นสด และ ถึงขอบเขตความคุ้มครองตามสัญญาประกันภัย ตามรายละเอียด เงื่อนไข และข้อยกเว้นของกรมธรรม์ประกันภัย
่
อื่น ๆ ตามที่กฎหมายกำหนด ตลอดจนเงื่อนไขเกี่ยวกับประโยชน์ สิทธิ และหน้าที่ของผู้เอาประกันภัยและ ได้แก ข้อความที่ระบุไว้อย่างกว้าง ๆ ว่าผู้รับประกันภัยจะคุ้มครองภัยอะไรบ้าง ในทางปฏิบัติส่วนมากจะม ี
ั
ผู้รับประกันภัย เอกสารแนบท้ายมาจำกด หรือขยายข้อความเดิมตามแต่กรณี ซึ่งจะต้องอ่านประกอบกับข้อยกเว้นในกรมธรรม ์
กรมธรรม์ประกันภัยนี้ใช้เพื่อเป็นหลักฐานในการฟ้องร้องดำเนินคดีตามกฎหมายได้ หากไม่มีกรมธรรม ์ ประกันภัยด้วย
ประกันภัยหรือไม่มีหลักฐานอื่นใด เช่น ใบเสร็จรับเงินที่มีการลงลายมือชื่อของฝ่ายผู้รับประกันภัยที่ยืนยันได้ว่า บางครั้งอาจเห็นคำว่า “Coverage Agreement” หรือ “Insuring Agreement” ในกรมธรรม ์
ผู้รับประกันภัยได้มีการตกลงรับประกันภัยไว้แล้ว ก็อาจจะไม่สามารถฟ้องร้องบังคับคดีได้ ประกันภัยภาษาอังกฤษบางฉบับ ซึ่งมีความหมายเช่นเดียวกับคำว่า Operative Clause
ุ้
ในการเขียนข้อกำหนดความคมครองสามารถเขียนได้ 2 แบบ คือ
2.1 รายละเอียดในกรมธรรม์ประกันภัย 1) แบบระบุภัย (Named Perils Basis) กรมธรรม์ประกันภัยจะระบุชัดเจนว่าคุ้มครองความเสียหาย
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 867 วรรคสามได้กำหนดรายการต่าง ๆ ซึ่งจะต้องปรากฏ ที่เกิดจากภัยใดบ้าง และยกเว้นความเสียหายที่เกิดจากภัยใดบ้าง เช่น กรมธรรม์ประกันอัคคีภัย
ในกรมธรรม์ประกันภัยไว้ดังนี้ ภัยที่คุ้มครอง (Covered Perils)
1. วัตถุที่เอาประกันภัย หมายถึง ตัวทรัพย์สิน สิทธิ หรือความรับผิด อันเป็นที่ตั้งของส่วนได้เสีย เช่น 1. …………………………………………..................………………………………………
สิ่งปลูกสร้าง หรือความรับผิดในชีวิตและทรัพย์สินของบุคคลอื่น 2. …………………………………………..................………………………………………
3. …………………………………………..................………………………………………
้
2. ภัยใดซึ่งผู้รับประกันภัยรับเสี่ยง หมายถึง ชนิดของภัยที่ผู้รับประกันภัยรับเสี่ยง เช่น ไฟไหม ฟ้าผ่า การ 4. …………………………………………..................………………………………………
ระเบิด . ………………………………………………………………...................…………………
. ………………………………………………………………...................…………………
3. ราคาแห่งมูลประกันภัย ถ้าหากได้กำหนดกันไว้ หมายถึง ราคาของส่วนได้เสีย ถ้าหากคู่กรณีตกลงไว้ก ็
ต้องระบุไว้ในกรมธรรม์ประกันภัย ภัยที่ยกเว้น (Excluded Perils)
4. จำนวนเงินซึ่งเอาประกันภัย หมายถึง จำนวนเงินสูงสุดที่กำหนดไว้เพื่อผู้รับประกันภัยจะต้องชดใช้ถ้า 1. …………………………………………..................………………………………………
หากมีภัยเกิดขึ้นตามสัญญาประกันภัย 2. …………………………………………..................………………………………………
3. …………………………………………..................………………………………………
5. จำนวนเบี้ยประกันภัย และวิธีส่งเบี้ยประกันภัย หมายถึง เงินที่ผู้เอาประกันภัยตกลงจะให้เป็นการตอบแทน 4. …………………………………………..................………………………………………
การรับเสี่ยงภัยของผู้รับประกันภัย จะส่งเป็นงวดเดียวหรือหลายงวดก็ได้ . ………………………………………………………………...................…………………
. ………………………………………………………………...................…………………
6. ถ้าสัญญาประกันภัยมีกำหนดเวลา ต้องลงเวลาเริ่มต้น และเวลาสิ้นสุดไว้ด้วย การทำสัญญาประกันภัย
อาจมีระยะเวลาเริ่มต้น และสิ้นสุดอายุสัญญาก็ได้ เช่น ระยะเวลาเอาประกันภัย 1 ปี เริ่มวันที่ 1 ตุลาคม 25X4
เวลา 16.00 น. สิ้นสุดวันที่ 1 ตุลาคม 25X5 เวลา 16.00 น. เป็นต้น รูปภาพที่ 6-1 ความคุ้มครองแบบระบุภัย (Named Perils Basis)
ิ
ั
ํ
้
ิ
ิ
ลขสทธของสมาคมประกนวนาศภยไทย หามนาไปใช้ในการแสวงหากําไรทางการคา ้
ั
์
ิ