Page 110 - InsuranceHandbook
P. 110

บทที่ 6 เอกสารที่เกี่ยวข้องกับสัญญาประกันภัย  91




 ึ
                                                                                                            ่
         2) แบบสรรพภัย (All Risks Basis) กรมธรรม์ประกันภัยจะให้ความคุ้มครองความเสียหายที่เกิดขน  4) การยกเว้นทรัพย์สิน (Excluded Properties) เช่น กรมธรรม์ประกันอัคคีภัยไม่คุ้มครองเงินแทง
 ้
                                                              ื
 ซึ่งมิได้มีการระบุยกเว้นไว้ในกรมธรรม์ประกันภัย ซึ่งหมายความว่า ถ้าหากเป็นความเสียหายจากภัยที่ไม่ได้ระบ ุ  หรือเงินรูปพรรณ หรือทองคำแท่ง หรือทองรูปพรรณ หรออัญมณี ต้นฉบับหรือสำเนาเอกสาร แบบแปลน แผนผง
                                                                                                            ั
 ยกเว้นไว้ในกรมธรรม์ประกันภัยก็จะได้รับการคุ้มครองโดยอัตโนมัติ เช่น กรมธรรม์ประกันภัยความเสี่ยงภัย  ภาพเขียน รูปออกแบบ ลวดลาย แบบหรือแบบพิมพ์ หรือแม่พิมพ์ เป็นต้น
                                                                                                         ั
 ทรัพย์สิน           2.2.5 เงื่อนไขทั่วไป (General Conditions) ได้แก่รายละเอียดเกี่ยวกับสทธิ หน้าที่ของผู้เอาประกนภัย
                                                                                    ิ
              และผู้รับประกันภัย ตลอดจนหลักเกณฑ์ต่าง ๆ ซึ่งคู่สัญญาจะต้องปฏิบัติในระหว่างที่สัญญามีผลบังคับ ซึ่งแบ่งออก
              ได้ดังนี้
                         1) หน้าที่ของผู้เอาประกันภัย เช่น การแถลงข้อความจริงที่เป็นสาระสำคัญก่อนทำสัญญาประกันภัย
                                                                                                            ้
              การชำระเบี้ยประกันภัยภายในระยะเวลาที่กำหนด  การแจ้งให้บริษัททราบเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงในภัยที่ได
              เอาประกันภัยไว้ การแจ้งการเกิดอุบัติเหตุหรือวินาศภัยให้บริษัททราบโดยไม่ชักช้า  การส่งมอบหลักฐานและ
              เอกสารตามที่ระบุไว้ให้บริษัทภายในระยะเวลาที่กำหนด  การดูแลทรัพย์สินที่เอาประกันภัยที่ได้รับความเสียหาย
              และการป้องกันความเสียหายอันอาจเพิ่มขึ้น เป็นต้น
                         2) หน้าที่ของผู้รับประกันภัย เช่น การเข้าต่อสู้คดีในนามของผู้เอาประกันภัยกรณีถูกคู่กรณีฟ้องศาล

                                                                                                            ่
              เรียกร้องค่าสินไหมทดแทนซึ่งมีการคุ้มครองตามกรมธรรม์ประกันภัย การจ่ายค่าสินไหมทดแทนให้แก
              ผู้เอาประกันภัยภายในระยะเวลาที่กำหนดนับแต่วันที่บริษัทได้รับหลักฐานแสดงความเสียหายที่ครบถ้วนและ
              ถูกต้องแล้ว เป็นต้น
                         3) สิทธิการบอกเลิกกรมธรรม์ประกันภัยของผู้เอาประกันภัยโดยไม่ต้องบอกล่วงหน้า เช่น

                                                                                                           ั
              ผู้เอาประกันภัยไม่พึงพอใจในบริการ ได้ขายทรัพย์สินที่เอาประกันภัย หรือได้รับข้อเสนอที่ดีกว่าจากบริษท
                                    ประกันภัยอื่น
                         4) สิทธิการบอกเลิกกรมธรรม์ประกันภัยเฉพาะรายของผู้รับประกันภัยซึ่งจะต้องบอกกล่าวล่วงหนา
                                                                                                            ้
                                                                                                           ู
 รูปภาพที่ 6-2 ความคุ้มครองแบบสรรพภัย (All Risks Basis)   อย่างน้อย 15 – 30 วัน เช่น ผู้เอาประกันภัยมีการกระทำฉ้อฉล มีอัตราการเคลมสูงกว่าอัตราปกติมาก ให้ข้อมล
              หรือเอกสารที่ไม่ตรงกับความเป็นจริง สิทธิการบอกเลิกกรมธรรม์ประกันภัยของผู้รับประกันภัยสำหรับกลุ่มของ
 หากเปรียบเทียบความคุ้มครองทั้ง 2 แบบแล้ว จะเห็นได้ว่าความคุ้มครองแบบสรรพภัยกว้างกว่า   ผู้เอาประกันภัยในกรณีที่ภาพรวมและปัจจัยความเสี่ยงเปลี่ยนไปจากเดิมมาก ซึ่งมักเกิดสำหรับเหตุการณ์ที่เปน
                                                                                                           ็
 ความคุ้มครองแบบระบุภัย   มหันตภัยหรือความเสี่ยงอุบัติใหม่ (Emerging Risk)

                                                                                                           ิ
 2.2.4 ข้อยกเว้น (Exclusions) เป็นข้อความที่ผู้รับประกันภัยระบุไว้ในกรมธรรม์ประกันภัยว่าจะไม ่  5) หลักเกณฑ์ต่าง ๆ เช่น การประกันภัยทรัพย์สินต่ำกว่ามูลค่าที่แท้จริง การร่วมเฉลี่ยความรับผด
 ์
 คุ้มครองภัยหรอเหตุแห่งภัยบางอย่าง วัตถุบางชนิด หรือเหตุการณบางอย่าง โดยสามารถจำแนกข้อยกเว้นออกได ้  การรับช่วงสิทธิ การระงับข้อพิพาทโดยอนุญาโตตุลาการ เป็นต้น
 ื
 เป็น 4 ประเภท คือ   2.2.6 ตารางกรมธรรม์ (Schedule) เป็นส่วนหน่งของกรมธรรม์ประกันภัยที่ระบุรายละเอียดต่าง ๆ เช่น
                                                               ึ
 ุ้
 1) การยกเว้นภัย (Excluded Perils) เช่น กรมธรรม์ประกันอัคคีภัยไม่คมครองความเสียหายซึ่งเกิดขึ้น  ชื่อและที่อยู่ของผู้เอาประกันภัย ทรัพย์สินที่เอาประกันภัย สถานที่ตั้งของทรัพย์สินที่เอาประกันภัย ระยะเวลา
 จากสงคราม การรุกราน การกระทำที่มุ่งร้ายของศัตรูต่างชาติ หรือการกระทำที่มุ่งร้ายคล้ายสงคราม ไม่ว่าจะได้ม ี  ประกนภัย จำนวนเงินเอาประกันภัย อัตราเบี้ยประกันภัย จำนวนเบี้ยประกันภัยสำหรับภัยแต่ละชนิดความคุ้มครอง
                   ั
 การประกาศสงครามหรือไม่ก็ตาม หรือสงครามกลางเมือง การแข็งข้อ การกบฏ การจลาจล การนัดหยุดงาน       เป็นต้น
 ึ
 การก่อความวุ่นวาย การกระทำของผู้ก่อการร้าย การปฏิวัติ การรัฐประหาร การประกาศกฎอัยการศก    2.2.7 ข้อกำหนดการลงนามประทับตรา (Attestation Clause) เป็นข้อกำหนดในกรมธรรม์ประกันภัย
                                                                                                   ั
 หรือเหตุการณ์ใด ๆ ซึ่งจะเป็นเหตุให้มีการประกาศหรือคงไว้ซึ่งกฎอัยการศึก   ที่แสดงว่าผู้มีอำนาจทำการแทนผู้รับประกันภัยได้ลงนามและประทับตราสำคัญ เพื่อให้สัญญามีผลผูกพนทางนิตินัย
 2) การยกเว้นความเสียหาย (Excluded Losses) เช่น กรมธรรม์ประกันภัยรถยนตไม่คุ้มครองความ  ซึ่งจะเป็นข้อความตอนท้ายสุดของกรมธรรม์ประกันภัย เพื่อเป็นการยืนยันเจตนารมณของผู้รับประกันภัยที่ต้องการ
                                                                                     ์
 ์
 ื
 เสียหายต่อรถยนต์ที่เอาประกันภัยจากการเส่อมราคา หรือการสึกหรอของรถยนต์ การแตกหักของเคร่องจักรกลไก  ให้สัญญาประกันภัยมีหลักฐานเป็นหนังสือ โดยลงลายมือชื่อของผู้มีอำนาจทำการแทนผู้รับประกันภัยและ
 ื
 ของรถยนต์ หรือการเสียหรือการหยุดเดินของเครื่องจักรกลไก หรือเครื่องไฟฟ้าของรถยนต์อันมิได้เกิดจากอุบัติเหตุ   ประทับตราของผู้รับประกันภัยไว้เป็นสำคัญ และอาจระบุวันออกกรมธรรม์ประกันภัยไว้ด้วย
 3) การยกเว้นการใช้งาน (Excluded Uses) เช่น กรมธรรม์ประกันภัยรถยนต์ไม่คุ้มครองการใช้รถยนต์  (โปรดดูภาคผนวก 3 ตัวอย่างกรมธรรม์ประกันอัคคีภัย)
 นอกอาณาเขตที่คุ้มครอง การใช้รถยนต์ไปในทางที่ผิดกฎหมาย เช่น ใช้รถยนต์ไปปล้นทรัพย์ ชิงทรัพย์ หรือใช้ขนยา
 เสพติด เป็นต้น   3. เอกสารแนบท้ายกรมธรรม์ประกันภัย (Attachment)
                     ณ วันเริ่มทำสัญญาประกันภัย ผู้รับประกันภัยอาจจะมีการขยายหรือลดความคุ้มครองบางอย่างตั้งแต่วัน

              เริ่มต้นของระยะเวลาประกันภัย เช่น การขยายความคุมครองภัยลมพายุ ภัยน้ำท่วม ภัยแผ่นดินไหว เข้าไปใน
              กรมธรรม์ประกันอัคคีภัย ภัยเหล่านี้เป็นภัยเพิ่มพิเศษ (Extraneous Perils) ซึ่งอยู่นอกเหนือจากเงื่อนไขและ
              ความคุ้มครองของกรมธรรม์ประกันภัยที่ผู้รับประกันภัยได้รับความเห็นชอบจากนายทะเบียน ซึ่งก็คือเลขาธิการ
                                      ิ
                                    ิ
                                   ลขสทธของสมาคมประกนวนาศภยไทย หามนาไปใช้ในการแสวงหากําไรทางการคา ้
                                                        ั
                                                             ้
                                                               ํ
                                                    ิ
                                       ์
                                       ิ
                                                  ั
   105   106   107   108   109   110   111   112   113   114   115