Page 186 - InsuranceHandbook
P. 186
บทที่ 15
เทคโนโลยีกับการประกันภัย
วิชชุกร นิลมานัตต์
ในการดำเนนงานของธุรกิจประกันภัยในปัจจุบันนี้ เทคโนโลยีได้เข้ามามีบทบาทเป็นอย่างมากในทุก
ิ
ิ
ิ
์
ั
่
ขนตอนตังแตการเสนอขาย การพจารณารับประกนภัย การออกกรมธรรมประกนภัย การพจารณาชดใช้
ั
้
ั
้
ค่าสินไหมทดแทน การประมวลผลข้อมลซงมจำนวนมหาศาล ตลอดจนการประชุมผานระบบออนไลน อย่างไรก ็
ี
ู
่
ึ
์
่
ตาม ธุรกิจประกันภัยก็ต้องเตรียมความพร้อมรับมือเรื่องความปลอดภัยทางไซเบอร์ด้วย
1. ความเป็นมาในการนำเทคโนโลยีมาใช้งานในธุรกิจประกันภัย
เทคโนโลยีที่จะกล่าวถึงในบทนี้ คือ เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการพฒนาทางดานการใช้งานทางระบบ
้
ั
่
สารสนเทศ ซึ่งเทคโนโลยีสารสนเทศทนำมาใช้กบภาคธุรกิจประกันภัยนั้นจะขอแบงออกมาเปนยคในการใช้งาน
็
ี
ุ
ั
่
เทคโนโลยี ดังนี้
ั
์
ู
เริ่มจากช่วงทศวรรษที่ 1980 ระบบคอมพิวเตอร์ในยุคน้นมลกษณะเป็นระบบประมวลผลแบบศนยกลาง
ั
ี
(Centralized) อยู่ที่ Mainframe มีการเชื่อมต่อค่อนข้างจำกัดและมีราคาสง การใช้งานหลกเปนการบันทึกข้อมูล
ั
็
ู
ตัวเลขทางบัญชี เพื่อให้สามารถประมวลผลรายงานตามที่ต้องการ เช่น ทะเบียนรับประกันภัย และงบการเงิน โดยมี
วัตถุประสงค์เพอใช้ในการบรหารจัดการภายในบริษทเป็นสำคญ การทำงานในยุคนั้นยังไมมการรวมกระบวนการ
ิ
ี
ั
่
ั
ื
่
ทำงานให้เป็นอัตโนมัติ โดยยังพึ่งพากระบวนการทำงานด้วยมือเป็นหลัก
ิ
ต่อมาในช่วงทศวรรษที่ 1990 เป็นช่วงที่มีการเติบโตของระบบคอมพวเตอร์ส่วนบุคคล
ิ
่
(Personal Computer: PC) บริษัทประกันภัยเรมนำระบบสารสนเทศมาใช้งาน ลักษณะของสถาปัตยกรรม
ทางด้าน Software แบบ Clients-Server ได้รับความนิยมมากและได้นำระบบต่างๆ มาจัดการกับกระบวนการ
์
ทำงานหลักของบริษัท เช่น กระบวนการออกกรมธรรมประกันภัย กระบวนการจดการแจ้งสินไหมทดแทน
ั
กระบวนการทางดานบญชี เป็นต้น ทำให้สามารถค้นหาข้อมูลผู้เอาประกันภัยได้อย่างรวดเร็วผ่านการเชื่อมต่อ
ั
้
เครือข่ายส่วนตัว (Private Network) ภายในบริษัท การบริหารข้อมูลมีความเป็นระเบียบในรูปแบบของการใช้
Data Warehouse และการจัดการข้อมูลหลายมิติโดยใช้ Online Analytical Processing (OLAP) ซึ่งผู้ใช้งาน
สามารถที่จะจัดทำข้อมูลแบบเจาะลึกได้ดีขึ้น
ต่อมาในช่วงทศวรรษที่ 2000 เป็นยุคที่มีการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีอย่างมาก บริษัทประกันภัยเริ่มนำ
ั
ี
่
เทคโนโลยมาใช้ในการเชื่อมตอกับระบบภายนอกบริษท จากเดิมซึ่งบริษัทจะต้องลงทุนในการเชื่อมต่อกับระบบ
่
ภายนอกผานระบบ Electronic Data Interchange (EDI) ก็ได้มีการเปลี่ยนมาใช้การเชื่อมต่อข้อมูลผ่าน
Open Protocols เช่น Web Services ผ่านช่องทางแบบ Secured Public Network (เช่น SSL บน
Internet) จากความง่ายในการเชื่อมต่อดังที่ได้กล่าวมานี้ ทำให้บริษัทประกันภัยสามารถพฒนารปแบบระบบท ่ ี
ั
ู
ให้บริการแก่ลูกค้า หรือคู่ค้า (เช่น ตัวแทน/นายหน้าประกนภัย) ในลกษณะกระจายและเชือมต่อกระบวนการ
ั
่
ั
ทำงานทางธุรกิจได้ง่ายขึ้น
ต่อมาในช่วงทศวรรษที่ 2010 เป็นยุคของเทคโนโลยที่อาศัยโครงสร้างพนฐานบน Internet ซึ่งถือเป็น
ื้
ี
มาตรฐานในการพฒนาการเชื่อมต่อ ในขณะที่ธุรกิจประกันภัยได้พัฒนากระบวนการทำงานต่าง ๆ ที่จะช่วยอำนวย
ั
่
ความสะดวกผานช่องทางบน Internet แล้ว ผู้บริโภคก็ได้มีการนำเทคโนโลยเข้ามามีส่วนร่วมในชีวิตประจำวัน
ี
ื้
มากขึ้น จากการที่ผู้บริโภคได้เริ่มใช้งานเทคโนโลยีที่เป็นพนฐานอย่างแพร่หลาย ส่งผลให้ภาคธุรกิจประกันภัยสนใจ
ื
ิ่
ที่จะใช้เทคโนโลยีเพมมากขึ้นนอกเหนอจากกระบวนการทำงานตาง ๆ ภายในบริษท เช่น การใช้เทคโนโลยีมาทำ
่
ั
่
ิ
ื
การวิเคราะห์ข้อมูลทางด้านสถิติ หรือการวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) เพอใช้วิเคราะห์พฤตกรรมของ
ิ
ิ
ลขสทธของสมาคมประกนวนาศภยไทย หามนาไปใช้ในการแสวงหากําไรทางการคา ้
ั
้
ํ
ิ
์
ิ
ั