Page 189 - InsuranceHandbook
P. 189
170 คู่มือประกันวินาศภัยไทย
Thai General Insurance Handbook
ุ
์
อปกรณของ IoT ที่มีการทำเป็นระบบ Pervasive Sensing สามารถที่จะนำมาประยุกต์ในการรับประกันภัยที่
ื้
ื่
์
เกี่ยวข้องกับภัยธรรมชาติได้ เช่น การใช้อปกรณกระจายตามพนที่เพอคอยตรวจวัดระดับน้ำ ความแรงของลมพาย ุ
ุ
ั
เพื่อนำมาเป็นข้อมูลในการประมาณการเบี้ยประกนภัย หรือใช้ในการจัดการค่าสินไหมทดแทน เป็นต้น
3.3 Wearable Technology เป็นเทคโนโลยีที่ใช้ติดอยู่กับตัวคน ซึ่งอาจจะเป็นผู้เอาประกันภัย โดย
ั
ู
ู
เทคโนโลยีนี้ได้ถกนำมาใช้กบการติดตามพฤติกรรมบางดานของผเอาประกนภัยสขภาพ เช่น การใช้ขอมลจำนวน
้
ั
ู
้
ุ
้
ี
้
่
่
ั
่
ั
ี
กาวหรือข้อมูลการออกกำลงกายทตรวจวัดโดย Smartwatch ซึ่งผู้เอาประกนภัยสวมใสมาเป็นตัวชี้วัดความเสยง
(Risk Indicator) ในการพิจารณาสุขภาพของผู้เอาประกันภัยที่จะสงผลให้มีการเจ็บป่วยที่ลดลงได้
่
้
ู
ิ
3.4 Augmented Reality เป็นการนำขอมลจากการประมวลผลของคอมพวเตอร์เข้าผสมกับ
ู
้
่
็
ื
์
ุ
สภาพแวดลอมจรงแลวนำมาแสดงผลทางด้านการมองเหน เช่น ในรปแบบแว่นตา หรอบนอปกรณแสดงผลตาง ๆ
ิ
้
เทคโนโลยีนี้สามารถนำมาประยุกต์กับการนำข้อมูลที่มีอยู่ในบริษัทประกันภัยที่ผ่านการประมวลผลแล้วมาแสดงบน
ี
สถานการณจริง เช่น ในการให้บริการงานสินไหมทดแทน เมื่อเกิดเหตุเจ้าหน้าที่สินไหมทดแทนสามารถท่จะสแกน
์
ทะเบียนรถ และทราบถึงประวัติการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนได้ทันที และอาจจะใช้เทคโนโลยีทางด้าน Artificial
ื่
ิ
ิ
Intelligence มาช่วยในการประเมนเหตุการณ์เพอพจารณาว่าใครเป็นฝ่ายผิดฝ่ายถูก หรือ ใช้ในการประเมินความ
เสียหายเพื่อใช้ในการประมาณรายการในการจัดซ่อมให้แม่นยำยิ่งขึ้น
3.5 Smart Contracts เป็นการออกหลักฐานการเอาประกันภัย ที่สามารถยืนยันความถูกต้องได้โดย
่
ึ
ไม่ต้องมี Databases กลาง ซงทำงานผ่านเทคโนโลยีประเภท Distributed Ledger อาทิ Blockchain โดย
ั
เทคโนโลยี Smart Contracts จะสามารถทำให้การตรวจสอบการมีอยู่ของการเอาประกนภัยของผเอาประกนภัย
ู
ั
้
้
ื
เป็นเรื่องง่ายขึ้น (ในกรณีที่ Infrastructure ทางดาน Distributed Ledger มีการใช้งานเป็นพนฐานพร้อมกันทุก
้
ั
บริษัท) เช่น เมื่อผู้เอาประกันภัยเข้ารับการรกษาตัวในโรงพยาบาล ทางโรงพยาบาลสามารถที่จะตรวจสอบการถือ
์
กรมธรรมประกนภัยทุกฉบับของผู้เอาประกันภัยรายนั้นได้ทันที เพยงแค่ทราบอตลักษณ์ที่ระบุตัวบุคคลนั้น หรือ
ั
ั
ี
ั
ความสามารถในการระบุว่ามีการขาดต่ออายุหรือว่าได้มีการเอาประกนภัยรถยนต์ภาคบังคับ (พ.ร.บ.) ไว้กับบริษัทใด
เพียงแค่ทราบทะเบียนรถ เป็นต้น
้
ี
เทคโนโลยีที่กล่าวมาขางต้นเป็นเพียงตัวอย่างที่เริ่มมการนำมาใช้งานหรือทดลองใช้งาน และยังมีเทคโนโลยี
ี
อกมากที่ไม่ได้กล่าวถึงในที่นี้ เช่น Healthtech, Automotive Tech, Agritech เป็นต้น ซึ่งในอนาคตการประยุกต ์
ี
ื
งานเทคโนโลยีจะไม่ได้จำกัดอยู่เพยงเทคโนโลยีในสายหนึ่ง แต่จะผสมผสานออกมาเพอตอบโจทย์ของธุรกิจ
่
็
ั
่
ประกนภัย อยางไรกตาม การใช้เทคโนโลยีที่ใกล้ชิดกับตัวผู้เอาประกันภัยมากขึ้นก็ได้เกิดคำถามถึงเรื่องข้อมูล
ความเป็นส่วนตัวของบุคคลที่บริษัทประกันภัยจะต้องพงระมดระวังและเตรียมความพร้อมให้มีความรอบคอบก่อน
ึ
ั
จะตัดสินใจใช้เทคโนโลยีต่าง ๆ มานำเสนอต่อผู้เอาประกันภัย
4. การเตรียมความพร้อมรับมือเรื่องความปลอดภัยทางไซเบอร์ (Cyber Security)
จากการนำเทคโนโลยมาใช้งานในภาคธุรกิจมากขึ้น ทำให้เกิดสิ่งใหม่ที่ธุรกิจจะต้องเผชิญและเตรียม
ี
ความพร้อมรับมือ คือ เรื่องความปลอดภัยทางด้านไซเบอร (Cyber Security) ขององค์กร บริษัทประกันภัยจำเป็น
์
ที่จะต้องคำนึงถึงความสำคัญที่อาจจะเกิดการคุกคามทางด้านเทคโนโลยีเพอป้องกันการเข้าถึงโดยไม่ได้รับอนุญาต
ื่
ซงอาจแบ่งเป็น Application Security, Infrastructure Security และ Information Security โดยภายในองค์กร
ึ
่
่
จะต้องจัดให้มีการประเมินความเสี่ยงของโอกาส และจุดออนในการถูกโจมตีอย่างสม่ำเสมอ และจะต้องจัดให้มี
ธรรมาภิบาลทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT Governance) และทำการตรวจสอบทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
(IT Audit) เพอให้องค์กรเกดการตระหนกในการใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสม ตลอดจนพร้อมรับมือเมื่อเกิด
ั
ิ
ื่
เหตุการณ์คุกคามทางด้านสารสนเทศ
์
ิ
ิ
ลขสทธของสมาคมประกนวนาศภยไทย หามนาไปใช้ในการแสวงหากําไรทางการคา ้
ิ
้
ํ
ั
ั
ิ