Page 188 - InsuranceHandbook
P. 188
บทที่ 15 เทคโนโลยีกับการประกันภัย 169
์
ต่าง ๆ มาวิเคราะหพฤตกรรมทางการตลาดของผู้บริโภคโดยใช้เทคโนโลยของ Data Mining หรือ การใช้
ี
ิ
ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence: AI) มาช่วยในการทำ Personalized Marketing, Underwriting
Automation เป็นต้น
2.2 การพัฒนาทางด้าน Internal Processes
จากอดีตจนถึงปัจจุบัน ธุรกิจประกันภัยได้มีความพยายามที่จะนำระบบเทคโนโลยีต่าง ๆ มาช่วยเพม
ิ
่
ประสิทธิภาพการทำงานในกระบวนการต่าง ๆ ซึ่งการนำเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในกระบวนการทำงานต่าง ๆ นั้นทำ
ให้บริษัทสามารถลดต้นทุนในการดำเนินงานและลดความผิดพลาดในการทำงานที่เกิดจากคนได้เป็นอย่างดี อย่างไร
ั
ิ
ก็ตาม การพฒนาที่ผ่านมามุ่งเน้นการทำ Automation ในกระบวนการทำงานทางธุรกจ (Business Processes)
ของบริษัทประกันภัยเป็นหลัก เช่น ด้านการพิจารณารับประกันภัย หรือ ด้านการจัดการค่าสินไหมทดแทน เป็นต้น
ั
็
ั
ิ
ิ
นอกจากน้น ธุรกจประกนภัยกไดเร่มใช้เทคโนโลยีมาช่วยในด้านการทำงานระยะไกล (Tele-Servicing) และการ
้
ประชุม Online เพื่อช่วยให้เกิดความต่อเนื่องทางธุรกจ เช่น จากสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
ิ
2019 (COVID-19) เหตุการณ์ที่ถูกกันการเข้าถึงพื้นที่ทำงานปกติ (Denial of Access) เป็นต้น
ี
ในปัจจุบันนี้ ความสามารถในการเข้าถึงเทคโนโลยของลูกค้าเป็นเรื่องปกติและเป็นที่แพร่หลาย ทำให้
ั
ั
ธุรกิจประกนภัยสามารถที่จะพัฒนากระบวนการที่อำนวยความสะดวกแก่ลูกค้าได้มากขึ้น เช่น การพฒนาช่องทาง
Straight-through processing (STP) เพอให้บริการตรงแก่ลูกค้า (Self-Servicing Channel) และคู่ค้าของบริษัท
ื่
ั
่
ประกนภัย การให้บริการผาน Video Call, Digital Face to Face ในการซื้อประกันภัย หรือการพฒนาระบบการ
ั
ั
บริหารความสัมพนธ์กับลูกค้า/คู่ค้า (Customer Relationship Management: CRM) ท่มีความสามารถใน
ี
การจัดการข้อมูลลูกค้าในแบบหลากหลายช่องทาง (Omni Channel) ซึ่งส่งผลให้เกิดประสิทธิภาพในการให้บริการ
ตอบสนองตรงตามพฤติกรรมของลูกค้า และช่วยลดต้นทุนในการจัดการของบริษัทได้อีกด้วย
3. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีกับการประกันภัย
นอกจากการนำเทคโนโลยีมาใช้จัดการกบกระบวนการทำงานหลกภายในบริษัทแล้ว เทคโนโลยียังได้ถูก
ั
ั
ประยุกต์ใช้ในการประกนภัยแบบที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน ซึ่งจากความก้าวหน้าของเทคโนโลยีทางด้าน
ั
Semiconductor ทำใหระบบประมวลผลมราคาถกลง ในขณะที่มีกำลังการประมวลผลที่สูงขึ้นและใช้พลังงานที่
ู
้
ี
่
น้อยลง ประกอบกับความก้าวหน้าของโครงสร้างพนฐานทางด้านการเชือมตอแบบไร้สายระยะไกล เช่น
ื้
่
Low Speed LTE, Long Term Evolution (LTE) 5G มีความครอบคลุมมากขึ้น ตลอดจนการพฒนาการทำงาน
ั
ของระบบคอมพวเตอร์ที่สามารถเข้าถึงได้ทุกหนทุกแห่งทุกสภาพแวดล้อมทำให้สามารถใช้คอมพวเตอร์เชื่อมต่อกับ
ิ
ิ
เครือข่ายได้ไม่ว่าจะอยู่แห่งใด (Ubiquitous Computing) และระบบการกระจายศูนย์ (Distributed Systems) ยัง
ุ
ั
ได้เข้ามามีบทบาทโดยนำมาประยกต์ในงานประกนภัยดังต่อไปนี้
3.1 Telematic เป็นเทคโนโลยีทางด้านสารสนเทศที่ใช้กับการรับส่งข้อมูลระยะไกล ซึ่งได้เริ่มมีการ
ุ
็
ั
นำมาใช้อย่างแพร่หลายในการประกันภัยรถยนต์ อาจจะเปนในลกษณะที่มีอปกรณ์ติดกับตัวรถผ่าน Interface
มาตรฐาน OBD II หรือเป็นในลักษณะใช้ Mobile Phone Sensor ของ Application บนมือถือของผู้ขับขี่เอง โดย
การนำเทคโนโลยีดังกล่าวมาใช้งานทำให้บริษัทประกันภัยสามารถทราบถึงพฤติกรรมการขับขี่ของผู้เอาประกันภัย
ั
ื่
และสามารถนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์เพอนำมาเป็นปัจจัยเสี่ยง (Risk Factor) ในการพิจารณาหาอตรา
เบี้ยประกันภัยที่เหมาะสมกับลักษณะการขับขี่ อกทั้งยังสามารถนำมาเป็นอกช่องทางหนึ่งในการสร้าง
ี
ี
้
Touch Point ทางการตลาดกับผู้ขับขี่ที่มีพฤติกรรมความเสี่ยงต่ำไดอีกด้วย
3.2 Internet of Things (IoT): หรืออปกรณ์ต่าง ๆ ที่เชื่อมต่อกับ Internet ซึ่งเป็นหนึ่งในรูปแบบ
ุ
ี
ของ Ubiquitous Computing ที่จะเข้ามาทดแทนอุปกรณ์ต่าง ๆ ทพบในชีวิตประจำวัน เช่น หลอดไฟ ลูกบิด
่
ประต ต้เยน ระบบรกษาความปลอดภัย เป็นตน การพัฒนาของ IoT นี้สามารถนำไปสู่ Smart Home ซึ่งบริษัท
ู
้
ั
ู
็
ี
่
ี
ประกนภัยสามารถทจะนำเสนอรูปแบบการประกันภัยใหม่ที่เหมาะกับความเสี่ยงของผู้เอาประกันภัยได้ อกทั้ง
ั
ิ
ิ
ลขสทธของสมาคมประกนวนาศภยไทย หามนาไปใช้ในการแสวงหากําไรทางการคา ้
ั
้
ํ
ิ
์
ิ
ั