Page 80 - InsuranceHandbook
P. 80
บทที่ 5 หลักส�าคัญของสัญญาประกันภัย 61
์
ั
ิ
้
่
ั
ที่แท้จริงของทรัพยสน และจำนวนเงินที่ผู้รบประกนภัยชดใช้จะลดลงตามสวน เช่น ถาทำประกันภัยไว้เพียง 60%
ของมูลค่าที่แท้จริงก็จะได้รับชดใช้เพียง 60% ของความเสียหายที่เกิดขึ้น และจะต้องแบกรับส่วนต่างของ
ความเสียหายเอง 40%
ั
์
ั
ตัวอย่าง เงื่อนไขทั่วไปของกรมธรรมประกนอัคคีภัย ข้อ 1. การประกนภัยทรัพย์สินต่ำกว่ามลค่าแท้จริง
ู
ระบุว่า “ในกรณีที่เกิดความเสียหายขึ้นแก่ทรัพย์สินที่เอาประกันภัย และปรากฎว่าทรัพย์สินนั้นมูลค่าสูงกว่าจำนวน
เงินที่ได้เอาประกันภัยไว้ให้ถือว่า ผู้เอาประกันภัยเป็นผู้รับประกันภัยเองในส่วนที่ต่างกันและในการคำนวณ
ค่าสินไหมทดแทนผู้เอาประกนภัยต้องรับภาระส่วนเฉลี่ยความเสียหายไปตามส่วนทุก ๆ รายการ และหากมีมากกว่า
ั
ิ
่
้
หนึ่งรายการใหแยกพจารณาเป็นแตละรายการ โดยบริษทจะชดใช้คาสนไหมทดแทนความเสียหายแตละรายการ
ิ
่
่
ั
ตามหลักการต่อไปนี้
ค่าสินไหมทดแทนที่บริษัทจะชดใช้แต่ละรายการ
= (จำนวนเงินเอาประกนภัย ÷ มูลค่าที่แท้จริงของทรัพย์สิน ณ เวลาที่เกิดความเสียหาย) x มูลค่า
ั
ความเสียหาย) - ความเสียหายส่วนแรก (ถ้ามี)”
ิ
ั
ั
ั
จำนวนเงนเอาประกนภัยของทรัพย์สินที่เอาประกนภัย ณ เวลาที่ทำประกนภัย จึงไม่ควรต่ำกว่ามูลค่าที่
แท้จริงของทรัพย์สิน (Under-Insurance) หรือสูงกว่ามูลค่าที่แท้จริงของทรัพย์สิน (Over-insurance) ในขณะนั้น
เนื่องจากจะทำให้ผู้เอาประกันภัยเสียประโยชน์ ดังนี้
่
ึ
ิ
1) การทำประกันภัยโดยมีจำนวนเงนเอาประกันภัยต่ำกว่ามูลค่าที่แท้จริง (Under-Insurance) ซง
มักจะเกิดขึ้นเพราะผู้เอาประกันภัยต้องการประหยัดค่าเบี้ยประกันภัยที่จะต้องจ่าย แต่ผู้เอาประกนภัยมักจะไม่
ั
ทราบว่าเมื่อเกิดความเสียหายบางส่วน (Partial Loss) จะต้องถูกเฉลี่ยความเสียหาย ทำให้ได้รับชดใช้น้อยกว่า
ี
ความเสียหายที่เกิดขึ้นจริงและยังต้องรับผิดชอบส่วนต่างของความเสยหายที่เหลือเอง ส่วนในกรณีที่เกิด
ั
ความเสียหายสิ้นเชิง (Total Loss) ผู้รับประกนภัยจะชดใช้ค่าสินไหมทดแทนให้เท่ากับจำนวนเงนเอาประกันภัย
ิ
้
้
ที่ทำไว้ การที่ผู้เอาประกันภัยได้รบชดใช้นอยกว่าความเสียหายที่เกิดขึ้นจริงนี้จึงทำให้เกิดขอพพาทระหว่าง
ิ
ั
ั
ผู้เอาประกนภัยกับผู้รับประกันภัย และมีการร้องเรียนไปยังสำนักงานคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบ
่
ี
ึ
ู
ิ
ั
ธุรกจประกนภัย (คปภ.) อยู่เป็นประจำซงจะต้องมาดรายละเอยดของการร้องเรียนแต่ละกรณีและอธิบายให้
ผู้เอาประกันภัยทราบเกี่ยวกับผลของการทำประกันภัยโดยมีจำนวนเงินเอาประกันภัยต่ำกว่ามูลค่าที่แท้จริง
ตัวอย่าง มูลค่าอาคารโรงงาน 2,000,000 บาท ได้ทำประกนอคคภัยเป็นจำนวนเงน 1,200,000 บาท
ิ
ั
ี
ั
ต่อมาเพลิงไหม้เสียหายทั้งหลัง (100%) จะได้รับเงินค่าสินไหมทดแทน 1,200,000 บาท แต่ถ้าเพลิงไหม้เสียหาย
บางส่วน โดยมีความเสียหาย 500,000 บาท จะได้รับเงินค่าสินไหมทดแทน ตามสูตรดังนี้
ิ
ค่าสินไหมทดแทนที่ต้องชดใช้ =[(จำนวนเงนเอาประกันภัย /มูลค่าที่แท้จริงของทรัพย์สิน ณ เวลาที่เกิด
ความเสียหาย) x มูลค่าความเสียหาย]
ั
ค่าสินไหมทดแทนที่ผู้รับประกนภัยชดใช้ = [(1,200,000/2,000,000) x 500,000] = 300,000 บาท โดย
ั
ผู้เอาประกนภัยต้องรับผิดชอบความเสียหายเอง 500,000 – 300,000 = 200,000 บาท
ู
่
ั
ั
ิ
2) การทำประกนภัยโดยมีจำนวนเงนเอาประกนภัยสงกว่ามูลค่าทีแท้จริง (Over-insurance) เมื่อเกิด
ั
ไฟไหมเสียหายสิ้นเชิง (Total Loss) ผู้รับประกนภัยจะชดใช้ค่าสินไหมทดแทนให้สูงสุดไม่เกินมูลค่าที่แท้จริงเท่านั้น
้
ในขณะที่เกิดไฟไหม้เสียหายบางสวน (Partial Loss) ผู้รับประกันภัยจะชดใช้ให้ตามความเสียหายที่เกิดขึ้นจริง
่
เท่านั้น เท่ากบว่าผู้เอาประกันภัยได้จ่ายเบี้ยประกันภัยมากเกินกว่าที่ควรจะเป็น
ั
ั
ตัวอย่าง มูลค่าอาคารโรงงาน 2,000,000 บาท ได้ทำประกันอคคีภัยเป็นจำนวนเงิน 3,000,000 บาท
ต่อมาเพลิงไหม้เสียหายทั้งหลัง จะได้รับเงินค่าสินไหมทดแทน 2,000,000 บาท แต่ถ้าเพลิงไหม้เสียหายบางส่วน
ิ
โดยมีความเสียหาย 500,000 บาท จะได้รับเงินค่าสินไหมทดแทนตามความเสียหายทเกดขึ้นจริง คือ 500,000 บาท
ี
่
ลขสทธของสมาคมประกนวนาศภยไทย หามนาไปใช้ในการแสวงหากําไรทางการคา ้
ิ
ั
ํ
้
ิ
์
ั
ิ
ิ