Page 85 - InsuranceHandbook
P. 85
66 คู่มือประกันวินาศภัยไทย
Thai General Insurance Handbook
ุ
ั
3.2 ในกรณีที่ผู้เอาประกนภัยประสบอบัตเหตตองเข้ารับการรกษาพยาบาล ผู้รบประกนภัยจะชดใช้
ั
ิ
ุ
้
ั
ั
ค่ารักษาพยาบาลตามที่ได้จ่ายไปจริง แต่ไม่เกินจำนวนเงินเอาประกันภัยค่ารักษาพยาบาลที่ได้ซื้อไว้ ซึ่งเป็นลักษณะ
ของสัญญาประกันภัยแบบชดใช้ตามความเสียหายที่เกิดขึ้นจริง
3.3 ในกรณีที่ผู้เอาประกันภัยต้องนอนพกรักษาตัวในโรงพยาบาลในฐานะผู้ป่วยใน ผู้รับประกันภัยจะ
ั
ั
ชดใช้เงนชดเชยรายได้ต่อวันให้แก่ผู้เอาประกนภัยตามจำนวนวันที่นอนอยู่ในโรงพยาบาล แต่สูงสุดไม่เกินจำนวน
ิ
วันที่ระบุไว้ต่อการเข้าพักรักษาตัวครั้งใดครั้งหนึ่ง ซึ่งเป็นลักษณะของสัญญาประกันภัยแบบกำหนดมูลค่า
่
ิ
ุ
ุ
ตัวอย่าง นาย ก. เอาประกันภัยอบัตเหตสวนบุคคลแบบ อ.บ. 1 โดยมจำนวนเงินเอาประกันภัยกรณี
ี
่
ั
ี
ู
ุ
่
้
เสียชีวิต สญเสยอวัยวะ สายตา หรือทพพลภาพถาวรสิ้นเชิง เท่ากับ 1 ลานบาท คารกษาพยาบาลเทากับ 50,000
บาทต่ออุบัติเหตุแต่ละครั้ง และเงินชดเชยรายได้ 1,000 บาทต่อวันสูงสุดไม่เกิน 365 วัน
ั
(1) กรณีที่ นาย ก. เสยชีวิตจากอุบตเหตุ ผู้รับประโยชน์ของ นาย ก. จะได้รับการชดใช้ 100%
ี
ิ
ของจำนวนเงินเอาประกันภัยหรือเท่ากับ 1 ล้านบาท
(2) กรณีที่ นาย ก. สูญเสียสายตาหนึ่งข้าง จะได้รับการชดใช้เท่ากับ 60% ของจำนวนเงิน
เอาประกันภัยหรือเท่ากับ 600,000 บาท เป็นต้น
ุ
(3) กรณีที่ นาย ก. ประสบอบัติเหตุต้องเข้ารับการรักษาพยาบาล เสียเงินค่ารักษาพยาบาล
ั
่
ไป 35,000 บาท นาย ก. ก็จะได้รับการชดใช้คารกษาพยาบาลตามที่ได้จ่ายไปจริงคือ 35,000 บาท แต่ถ้า นาย ก.
ั
็
ั
ได้จ่ายค่ารกษาพยาบาลไป 65,000 บาท นาย ก. กจะได้รับการชดใช้สูงสุดคือเต็มวงเงินค่ารกษาพยาบาล
50,000 บาทที่ได้เอาประกันภัยไว้เท่านั้น
(4) กรณีที่ นาย ก. ประสบอุบัติเหตุต้องนอนรับการรักษาพยาบาลในโรงพยาบาลในฐานะผู้ป่วยในเป็น
เวลา 7 วันก็จะได้รับเงินชดเชยรายได้อีก 7,000 บาท
3.1.4 สัญญาประกันภัยแบบชดใช้ตามมูลค่าทรัพย์สินที่เป็นของใหม ่
ี
่
ั
เป็นสญญาประกนภัยอกแบบหนึ่ง ซึ่งเป็นข้อยกเว้นหรือการเปลี่ยนจากหลกการชดใช้คาสนไหมทดแทน
ั
ั
ิ
สัญญาประกนภัยแบบนี้มักใช้ในการประกันภัยทรัพย์สินบางประเภท เช่น การประกันอคคีภัย และ การประกันภัย
ั
ั
ั
ความเสี่ยงภัยทรัพย์สินสำหรบสถานประกอบธุรกจ อาคารชุด หรอ โรงงานอุตสาหกรรม เป็นต้น โดย
ื
ิ
ผู้รับประกันภัยจะชดใช้เท่ากับมูลค่าทรัพย์สินที่เป็นของใหม่ (New Replacement Cost) ของทรัพย์สินที่ได้รับ
ความเสยหายโดยไม่มีการหักค่าเสื่อมราคา ณ เวลาและสถานที่ที่เกิดวินาศภัย ซงบางคนเรยกว่าเป็น
ี
ึ
่
ี
“New for old cover” เช่น หากผู้เอาประกันภัยที่เป็นสถานประกอบธุรกิจได้เอาประกันภัยอาคารโรงงาน
อุตสาหกรรมไว้แบบมูลค่าทรัพย์สินที่เป็นของใหม่โดยมีจำนวนเงินเอาประกันภัยที่เพยงพอ ในกรณีที่เกิดอคคีภัยขึ้น
ั
ี
ั
้
จนเกิดความเสียหายสิ้นเชิงทงโรงงาน ผู้เอาประกันภัยจะได้รับเงินค่าสินไหมทดแทนซึ่งเพยงพอที่จะสามารถสร้าง
ี
อาคารโรงงานตามแบบแปลนเดิมขึ้นมาได้ใหม่ ดังนั้น ผู้ที่เอาประกันภัยแบบมูลค่าทรัพย์สินที่เป็นของใหม่นี้ ควรจะ
มีจำนวนเงินเอาประกนภัยใกล้เคียงกับมูลค่าทรัพย์สินที่เป็นของใหม่ทั้งในตอนที่เอาประกนภัยครั้งแรกและในการ
ั
ั
ต่ออายุปีต่อ ๆ ไป โดยสามารถจะหาข้อมูลจากตารางมาตรฐานราคากลางสิ่งปลูกสร้าง (อาคาร) ปีล่าสุดได้จาก
ั
ิ
่
website ของสำนักงานคณะกรรมการกำกับและสงเสรมการประกอบธุรกจประกนภัย (คปภ.) ดังต่อไปนี้
ิ
http://oiceservice.oic.or.th /Insurancefire/standard.php
จากตัวอย่างที่ได้อธิบายไปแลวในเรื่องมูลค่าที่แท้จริงของทรัพย์สิน หาก นาย อ. ต้องการจะเอาประกัน
้
ั
ั
อคคีภัยบ้านพกอาศัยของเขาซึ่งเป็นบ้านเดี่ยว 2 ชั้นที่มอายุการใช้งานมาแล้ว 10 ปีแบบมูลค่าทรัพย์สินที่เป็น
ี
ของใหม่ จะต้องมีจำนวนเงินเอาประกันภัย 3,266,640 บาท (หรือปัดเป็นตัวเลขกลม ๆ ประมาณ 3,300,000 บาท)
จึงจะทำให้เขาได้รับชดใช้เพียงพอที่จะสร้างบ้านหลังใหม่ในกรณีที่เกิดไฟไหม้เสียหายหมดทั้งหลังได ้
ิ
์
ิ
ลขสทธของสมาคมประกนวนาศภยไทย หามนาไปใช้ในการแสวงหากําไรทางการคา ้
ิ
้
ํ
ั
ั
ิ